วิวัฒนาการกฎหมายมรดกในราชอาณาจักรสยามยุคต้นรัตนโกสินทร์
คำสำคัญ:
วิวัฒนาการ, กฎหมายมรดก, รัตนโกสินทร์ตอนต้นบทคัดย่อ
กฎหมายมรดกมีความสำคัญอย่างมากในการปกป้องสิทธิและความเป็นธรรมของการแบ่งมรดก ในกรณีที่มีการโอนทรัพย์สินจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหลังจากเสียชีวิต โดยกฎหมายมรดกช่วยให้มั่นใจได้ว่าการแบ่งมรดกถูกต้องตามกฎหมายและตามความประสงค์ของผู้สร้างมรดก ตลอดจนช่วยลดความขัดแย้งในครอบครัวที่อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่มีกฎหมายที่ชัดเจนในการแบ่งมรดก ทำให้สามารถส่งเสริมความสันติสุขและความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวได้ นอกจากนี้ กฎหมายมรดกยังมีบทบาทในการส่งเสริมการเศรษฐกิจโดยช่วยสร้างความมั่นคงในการถือครองทรัพย์สินและส่งเสริมการลงทุนในระยะยาวในสังคม
References
กำธร กำประเสริฐ และสุเมธ จานประดับ. (2515) กฎหมายตราสามดวง เล่ม 3. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กำธร กำประเสริฐ. (2550). หนังสือประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์กฎหมายไทยและระบบกฎหมายหลัก (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1351/2531, เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 152/2527, เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
โชค จารุจินดา. (2531). คำบรรยายลักษณะมรดก (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
พรชัย สุนทรพันธุ์. (2546). คำอธิบายกฎหมายลักษณะมรดก. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายแพ่ง 3 : ครอบครัว-มรดก (พิมพ์ครั้งที่ 21). นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค.
แสวง อุดมศรี. (2550). ประมวลกฎหมายคณะสงฆ์. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาบรรณาคาร วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์.
หลวงสุทธิวาทนฤพุฒิ. (2517). คำบรรยายประวัติศาสตร์กฎหมาย (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
องค์การค้าของคุรุสภา. (2505). กฎหมายตราสามดวง เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์.
