https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/issue/feed
วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
2024-12-24T13:24:02+07:00
Open Journal Systems
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/877
บทบรรณาธิการ
2024-12-24T12:52:51+07:00
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
edu@g.lpru.ac.th
<p><span class="fontstyle0"> วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง </span><span class="fontstyle2">เป็น วารสารวิชาการในรูปแบบออนไลน์ที่มีเป้าหมายเพื่อให้เป็นพื้นที่นำเสนอผลงานทางวิชาการทางด้านการศึกษาและสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ด้านศึกษาศาสตร์ เช่น ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา ฯลฯ ศาสตร์การสอนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมไปถึงศาสตร์การสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ดนตรี ศิลปะ สังคมศึกษา หรือที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเจริญก้าวหน้าทางด้านความรู้และด้านการวิจัย</span> </p>
2024-12-24T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/549
ผลของการพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษของนักศึกษาปริญญาตรีโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน: กรณีศึกษาการอ่านเพื่อความเข้าใจ
2024-09-26T10:50:23+07:00
ฺBusarakham Intasuk
busaka.buss@gmail.com
<p>Blended learning helps develop reading comprehension skills for higher education students. The objectives of this research were to compare the effects of blended learning on reading comprehension using pre-tests and post-tests, and to investigate the reading comprehension strategies employed by students in their post-test task. The sample group consisted of 50 third-year English major students from the Faculty of Education, enrolled in the academic year 2021 in the course "English for Promoting Local Wisdom," selected through purposive sampling technique. The research instruments included: 1) a blended learning instructional plan, 2) a survey of reading strategies, and 3) pre-tests and post-tests. Data analysis utilized descriptive statistics including percentage, mean, standard deviation, and t-test dependent.</p> <p>The research findings indicated that the post-test scores were significantly higher than pre-test scores at the 0.05 level. Moreover, the reading strategies used in the students’ post-test task were at a moderate level included noting vocabulary after reading ( = 2.06, S.D. = 0.76) and adjusting reading speed when comprehension was lacking ( = 1.92, S.D. = 0.85).</p>
2024-12-23T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/659
ท้องถิ่นศึกษา: แนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ร่วมกับแหล่งวิทยาการเรียนรู้
2024-09-23T09:04:25+07:00
Phromphiriya Thoikham
pr349@piriyalai.ac.th
<p>บทความนี้มุ่งนำเสนอแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนรู้ท้องถิ่นศึกษา ในลักษณะของหลักสูตรรายวิชาภายใต้สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา จากการศึกษาเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนำเสนอเกี่ยวกับนิยามและความหมาย ตัวอย่างงานศึกษาวิจัย การบูรณาการเชิงสหวิทยาการ วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และแหล่งวิทยาการเรียนรู้ท้องถิ่น เพื่ออธิบายแนวคิดการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบบูรณาการเชิงสหวิทยาการ และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิถีชีวิต วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง เพื่อสร้างองค์ความรู้และมวลประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีความหมายและมีคุณค่าสำหรับผู้เรียน</p>
2024-12-23T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/737
การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้หญ้าอิบุแคเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย
2024-10-24T12:11:33+07:00
Juthamas Kruasri
67866401@g.cmru.ac.th
<p><strong>การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้หญ้าอิบุแคเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย</strong></p>
2024-12-23T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/598
การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ผสานการเขียนโปรแกรมโดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณของเด็กปฐมวัย
2024-09-26T10:22:24+07:00
sirinun yosmao
67866403@g.cmru.ac.th
<p>ทักษะการคิดเชิงคำนวณ เป็นทักษะที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนรู้และการทำงานในอนาคต ทักษะนี้เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการแก้ไขปัญหาอย่างมีระบบ การสร้างแบบจำลองข้อมูล ผ่านการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ผสานการเขียนโปรแกรมโดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ได้แก่ กิจกรรมเรียงลำดับขั้นตอนการทำ “ไอศกรีม”</p> <p>กิจกรรมเขียนโปรแกรมด้วยบัตรคำสั่งการทดลอง “ภูเขาไฟระเบิด” กิจกรรม “สร้างเรือ” กิจกรรมเขียนโปรแกรมด้วยบัตรคำสั่งการทดลอง “สีเต้นระบำ”และกิจกรรม“การทดลองสีและการผสมสี” ซึ่งจะจัดในรูปแบบการทดลองวิทยาศาสตร์ผสมผสานกับการเรียนรู้การเขียนการเขียนโปรแกรมโดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์ เช่น การใช้บัตรคำที่มีลำดับขั้นตอน เป็นต้น </p>
2024-12-23T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/706
ครูเคยนำการปฏิรูปการศึกษาจากเบื้องล่างมาแล้ว แต่ล้มเหลว : กรณีศึกษาจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
2024-10-07T18:13:57+07:00
ชัยชาญ ปรางค์ประทานพร
mayfilled24@outlook.com
<p>บทความนี้ต้องการศึกษาบทบาทของครูในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 โดยใช้แนวพินิจทางประวัติศาสตร์ และมุมมองประวัติศาสตร์จากเบื้องล่าง เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างครูไทยกับการปฏิรูปการศึกษาซึ่งเป็นชุดนโยบายใหญ่ที่กำหนดโฉมหน้าการศึกษาไทยตั้งแต่ทศวรรษ 2520 ถึงปัจจุบัน</p> <p>ผลการศึกษาพบว่า ในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ครูโดยเฉพาะครูโรงเรียนราษฎร์เป็นกลุ่มพลังหนึ่งที่มีส่วนในการต่อสู้ทางการเมือง เเละทำให้นโยบายปฏิรูปการศึกษาถูกนำเสนอในทางการเมืองเป็นครั้งเเรก เเต่เนื่องจากสถานภาพทางเศรษฐกิจเเละสังคมของครู กติกาเเรงงานในสังคมที่ไม่เป็นธรรม ตลอดจนคุรุสภาที่ไม่เชื่อมโยงกับครูส่วนใหญ่ ทำให้ครูในฐานะคนจากเบื้องล่างต้องต่อสู้เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของตนเอง เเต่เมื่อรวมพลังกันเเล้วกลับไม่อาจขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาได้ จึงกลายเป็นบทบาทของเทคโนเเครตที่ผลักดันการปฏิรูปการศึกษาได้สำเร็จถึงสองครั้งด้วยกัน เเละกำหนดโฉมหน้าของการศึกษาไทยในปัจจุบัน</p>
2024-12-23T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/874
บทความปริทัศน์
2024-12-23T14:09:59+07:00
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
edu@g.lpru.ac.th
<p><span class="fontstyle0">เศรษฐศาสตร์ 'มัธยม' : แง่มุมอันหลากหลายในชีวิตประจำวัน<br /></span><span class="fontstyle2">ผู้แต่ง : คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์<br />พิมพ์เมื่อ : กันยายน 2567<br />จำนวน : 398 หน้า</span> </p>
2024-12-23T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JEDULPRU/article/view/878
บทความพิเศษ
2024-12-24T13:24:02+07:00
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
edu@g.lpru.ac.th
<p><span class="fontstyle0">ความเคลื่อนไหว<br>ด้านการศึกษาจากทั่วโลก</span></p> <p><span class="fontstyle0"> รางวัลการวิจัยแห่งชาติ ของ สำนักงานวิจัยแห่งชาติ<br>ประจำปีงบประมาณ 2567<br>ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และการเรียนรู้ <br></span></p>
2024-12-24T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง