Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK th-TH jgsm.spukk@gmail.com (รองศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์) jgsm.spukk@gmail.com (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา ปัญญา) Thu, 30 Jan 2025 11:33:44 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 ภาคผนวก https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/922 <p>ภาคผนวก</p> JGSM SPUKK Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/922 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 ฉบับเต็ม https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/915 <p>ฉบับเต็ม</p> JGSM SPUKK Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/915 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 ส่วนหน้า https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/918 <p>ส่วนหน้า</p> JGSM SPUKK Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/918 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 บทบรรณาธิการ https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/919 <p>บทบรรณาธิการ</p> JGSM SPUKK Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/919 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ ที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งร่วมกับการใช้เทคนิคการประเมินระหว่างเรียน เรื่อง พลังงานความร้อน https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/661 <p> การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระดับความสามารถในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 29 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) โดยเทียบกับเกณฑ์การจัดกลุ่มความสามารถในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์อย่างละเอียด จากนั้นจัดกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ระดับสูง ระดับปานกลาง และระดับต่ำโดยตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้เทคนิคการตรวจสอบแบบสามเส้า ด้านวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Method triangulation) และวิเคราะห์ค่าความถี่และร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ในแต่ละกลุ่ม</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีพัฒนาการของการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการให้เหตุผลแบบนิรนัยและการให้เหตุผลแบบอุปนัย แต่ยังไม่สามารถพัฒนาการให้เหตุผลแบบสมมตินัยและการให้เหตุผลแบบอธิบายได้ดีเท่าที่ควร ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่มีความสามารถอยู่ในระดับปานกลาง และพบว่านักเรียนบางส่วนไม่มีการเปลี่ยนแปลงระดับความสามารถในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะการให้เหตุผลแบบสมมตินัยและการให้เหตุผลแบบอธิบาย</p> <p> </p> ปัฐวี มูลภา, เอกภูมิ จันทรขันตี Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/661 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาชุดความรู้กิจกรรมทางกายด้วยศิลปวัฒนธรรมล้านนาในตำบลปงแสนทอง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/660 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดความรู้กิจกรรมทางกายด้วยศิลปวัฒนธรรมล้านนาในตำบลปงแสนทอง &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มี 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุ ด้วยการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 14 คน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้รู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนา และผู้เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ระยะที่ 2 พัฒนาชุดความรู้ โดยร่างชุดความรู้ แล้วประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ โดยผู้เชี่ยวชาญ 7 ท่าน และระยะที่ 3 ศึกษาประสิทธิผลของชุดความรู้กิจกรรมทางกาย โดยวัดความรู้ก่อนและหลังใช้ชุดความรู้กลุ่มทดลองใช้ คือ ผู้สูงอายุในตำบลปงแสนทอง 30 คน ที่สมัครใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติการทดสอบที (Dependent Samples t –test)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</strong></p> <ol> <li class="show">สภาพปัญหาและความต้องการกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุ พบว่า 1.1) โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุน โรคหัวใจ และโรคข้อเข่าเสื่อม ตามลำดับ และ 1.2) ชุดความรู้ ควรมุ่งความแข็งแรงและความยืดหยุ่นกล้ามเนื้อของผู้สูงอายุ</li> <li class="show">ชุดความรู้กิจกรรมทางกายด้วยศิลปวัฒนธรรมล้านนา มี 3 ชุด 1) ชุดศิลปะการตีกลองปู่จา 3 เพลง 2) ชุดศิลปะการฟ้อนเล็บ 16 ท่า 3) ชุดศิลปะการฟ้อนเจิง 5 ชุดย่อย ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ พบว่า อยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">ประสิทธิผลของชุดความรู้กิจกรรมทางกายด้วยศิลปวัฒนธรรมล้านนา พบว่า ผู้สูงอายุที่ทดลองใช้ขุดความรู้ มีคะแนนเฉลี่ยความรู้สูงกว่าก่อนการใช้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 และควรนำชุดความรู้มาพัฒนาสื่อนวัตกรรมการสื่อสารเพื่อเผยแพร่สู่ชุมชนอย่างกว้างขวาง</li> </ol> พงศกร พรหมสวรรค์, วิเชียร วงค์วัน, วัชระ เพชรคล้าย, อาชัญวิชญ์ ชุมภณพงษ์ศักดิ์, กฤษณะ สุจาโน Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/660 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 รูปแบบการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : POMELO Model ที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/651 <p class="s19"><span class="s17"><span class="bumpedFont15">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">1) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">ศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวัง </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">2) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">พัฒนารูปแบบ</span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15"> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;</span></span> <span class="s17"><span class="bumpedFont15">3) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">ศึกษาการใช้รูปแบบ และ </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">4) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">ประเมินรูปแบบการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">POMELO &nbsp;Model </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">ที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">2 </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">2 </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">และผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">155 </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">1) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">แบบสัมภาษณ์ </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">2) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">แบบสอบถาม </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">3) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">แบบ</span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">รายงานผลการปฏิบัติงาน</span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15"> และ </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">4) </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">แบบประเมิน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">&nbsp; &nbsp; &nbsp;</span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</span></span></p> <p class="s19">​<span class="s17"><span class="bumpedFont15">ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ อยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนความคาดหวังการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 2) รูปแบบการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">POMELO Model </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">มี 6 องค์ประกอบ 3) ผลการใช้รูปแบบ พบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการดำเนินการพัฒนาจนบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผลการประเมินสถานะของหน่วยงานอยู่ในระดับพัฒนาจนเกิดผล นักเรียน ครู และสถานศึกษา ได้รับการยอมรับ ยกย่อง และได้รับรางวัลต่าง ๆ มีนวัตกรรมการยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง และ 4) ผลการประเมินการใช้รูปแบบ ด้านความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ผลการประเมินความพึง</span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">พอใจของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และผู้บริหารสถานศึกษา มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</span></span></p> <p class="s19">&nbsp;</p> <p class="s19"><span class="s12"><span class="bumpedFont15">คำสำคัญ</span></span><span class="s12"><span class="bumpedFont15">:</span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">รูปแบบการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ</span></span> <span class="s17"><span class="bumpedFont15">, </span></span><span class="s17"><span class="bumpedFont15">องค์กรสมรรถนะสูง</span></span></p> สุริยันต์ สุวรรณทอง Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/651 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างมายด์เซ็ตทางคณิตศาสตร์ คุณค่าในการเรียน และการรับรู้การจัดการเรียนการสอนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/644 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษามายด์เซ็ตทางคณิตศาสตร์ คุณค่าในการเรียนและการรับรู้การจัดการเรียนการสอนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมายด์เซ็ตทางคณิตศาสตร์ คุณค่าในการเรียนและการรับรู้การจัดการเรียนการสอนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โดยตัวอย่างของการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจำนวน 936 คน (นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 489 คน และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 447 คน) ซึ่งได้มาโดยการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดมายด์เซ็ตทางคณิตศาสตร์จำนวน 6 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น .849 แบบวัดคุณค่าในการเรียนจำนวน 16 ข้อ ประกอบด้วยคุณค่าในการบรรลุเป้าหมาย คุณค่าภายใน คุณค่าของผลลัพธ์ และคุณค่าของการสูญเสีย มีค่าความเชื่อมั่น .728, .829, .754, และ .799 ตามลำดับ และแบบวัดการรับรู้การจัดการเรียนการสอนจำนวน 10 ข้อ ประกอบด้วยแบบรู้จริงและแบบมุ่งผลลัพธ์ มีค่าความเชื่อมั่น .809 และ .759 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยมายด์เซ็ตทางคณิตศาสตร์แบบเติบโตระดับมาก ( <img src="https://so18.tci-thaijo.org/public/site/images/araya.p@msu.ac.th/mceclip0-768c1aadfa17d694e55b6bbb1192134a.png"> = 4.55) มีคะแนนเฉลี่ยคุณค่าในการบรรลุเป้าหมายกับคุณค่าของผลลัพธ์อยู่ในระดับมาก ( <img src="https://so18.tci-thaijo.org/public/site/images/araya.p@msu.ac.th/mceclip1-f70e81ef7b7b5d824eafed1e311b7ab9.png"> = 3.43 และ 3.45 ตามลำดับ) ในขณะที่คุณค่าภายในและคุณค่าของการสูญเสียมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ( <img src="https://so18.tci-thaijo.org/public/site/images/araya.p@msu.ac.th/mceclip2-a205ff38f8d0970aea0b8cb298d8eb98.png"> = 3.32 และ 3.23 ตามลำดับ) มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้การจัดการเรียนการสอนแบบรู้จริง และแบบมุ่งผลลัพธ์อยู่ในระดับปานกลาง ( <img src="https://so18.tci-thaijo.org/public/site/images/araya.p@msu.ac.th/mceclip3-b9dada650449561c1174be2dc0285316.png"> = 3.31, 2.90 ตามลำดับ) ผลจากการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสามพบว่า มายด์เซ็ตทางคณิตศาสตร์ คุณค่าในการเรียนทั้ง 4 ลักษณะและการรับรู้การจัดการเรียนการสอนทั้ง 2 รูปแบบมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญที่สถิติ .01</p> อารยา ปิยะกุล, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/644 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 สารบัญ https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/920 <p>สารบัญ</p> JGSM SPUKK Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/920 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700 การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการวิจัย https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/671 <p><strong>สาระสังเขป</strong></p> <p> บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอเรื่องราวของการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการวิจัย โดยใช้วิธีการสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ โดยเนื้อหาของการนำเสนอโดยภาพรวม ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการวิจัยได้เปลี่ยนแปลงวิธีการและกระบวนการในการศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมาก ในยุคดิจิทัลที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว AI กลายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการวิจัย ตั้งแต่การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ การสร้างแบบจำลองและการทำให้กระบวนการต่าง ๆ เป็นไปโดยอัตโนมัติ เช่น การเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) และเครือข่ายประสาทเทียม (Neural Networks) AI ยังช่วยในการสร้างความรู้ใหม่ ๆ และแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้ดีขึ้น อย่างไรก็ตามการนำ AI มาใช้ในงานวิจัยยังต้องเผชิญกับข้อท้าทายด้านจริยธรรมและความถูกต้องของข้อมูล เช่น ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของข้อมูล ความลำเอียงในข้อมูลและความโปร่งใสในการทำงานของอัลกอริทึม การจัดการกับความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้การใช้ AI ในการวิจัยเป็นไปอย่างมีความรับผิดชอบและเป็นประโยชน์ต่อสังคม</p> รังสรรค์ โฉมยา, สมบัติ ท้ายเรือคำ, เสกสรร ทองคำบรรจง Copyright (c) 2025 Journal of Graduate School of Management Studies of Sripatum University Khon Kaen Campus: JGSM-SPUKK https://so18.tci-thaijo.org/index.php/JGSM_SPUKK/article/view/671 Thu, 30 Jan 2025 00:00:00 +0700