การพัฒนาชุมชนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนตำบลคลองโคน

ผู้แต่ง

  • เสฏฐีรัตน์ ดวงกนกพัฒน นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

การพัฒนาชุมชน, เสริมสร้างความเข้มแข็ง, ชุมชนตำบลคลองโคน

บทคัดย่อ

การพัฒนาชุมชน (community development) หมายถึง  การพัฒนาความคิดและความสามารถของบุคคลในการทำงานระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับประชาชนในชุมชน ได้ร่วมมือกันวางแผนปรับปรุงแก้ไขมีความคิดสร้างสรรค์ ทำให้ชุมชนเกิดความเจริญก้าวหน้าทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตามความต้องการของประชาชนในชุมชน โดยอาศัยความคิดริเริ่ม การพึ่งพาตนเอง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีมาตรฐานความเป็นอยู่ในชุมชนดีขึ้น เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนการกระตุ้นและสร้างกระบวนการ ในงานแบบมีส่วนร่วม ร่วมทั้งการสร้างสภาพแวดล้อมให้ชุมชนร่วมคิด ร่วมกันทำและมีการเรียนรู้ เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันอันจะนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว การมีส่วนร่วม ในกิจกรรมบางอย่างร่วมกับคนอื่น

References

เสรี พงศ์พิศ และคณะ.(2531). ทิศทางหมู่บ้านไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์หมู่บ้าน.

อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว. .(2536).การศึกษาและวิเคราะห์ชุมชนในการวิจัยเชิงคุณภาพ.ใน คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. อุทัย ดุลยเกษม.บรรณาธิการ. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อนุชาติ พวงสำลี และวีรบูรณ์ วิสารทสกุล.(2541).ประชาสังคม คำ ความคิด และความหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.

อเนก เหล่าสุวรรณทัศน์.(2542).ประชาสังคมในมุมมองตะวันตก อ่านและสอนที่จอห์นส์ฮอปกินส์. กรุงเทพมหานคร : สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม.

อภิชัย พันธเสน.(2539). แนวคิด ทฤษฎี และภาพรวมของการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

อริยา เศวตามร์.(2542).นักพัฒนากับบทบาทในการสร้างความหมายใหม่ของชุมชน. ใน เศรษฐศาสตร์การเมือง เอ็นจีโอ 2000. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. บรรณาธิการ. ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05/15/2024