รหัสพุทธธรรม: ยันต์โสฬสที่วัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผู้แต่ง

  • พระปลัดระพิน พุทธิสาโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ดิเรก ด้วงลอย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • มัลลิกา ภูมะธน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

รหัสพุทธรรม, ยันต์โสฬส, วัดหน้าพระเมรุ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงยันต์โสฬสที่วัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อสะท้อนคิดเรื่องหลักพุทธธรรมความหมายที่ปรากฏในยันต์ โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

          ผลการการศึกษาพบว่า ยันต์โสฬสที่หน้าวัดพระเมรุ ที่เป็นทั้งความเชื่อเกี่ยวกับยันต์อันสัมพันธ์กับความเชื่อความศักดิ์สิทธิ์ ดังปรากฏว่าการที่วัดไม่ได้ถูกเผาในครั้งกรุงศรีอยุธยาทำให้ยันต์กลายเป็นสัญลักษณ์ของความศักดิ์แคล้วคลาดจนกระทั่งในคราวสร้างกรุงรัตโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ได้นำยันต์ดังกล่าวไปจารึกร่วมกับหลักเมืองในคราวตั้งเมืองในนอกจากนี้ยันต์โสฬสเมื่อถอดรหัสความหมายตัวเลข และอักษรขอมแล้วจะเห็นถึงแนวคิดคำสอนและหลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนาในแต่หมวดที่ตัวเลขกำหนดอาทิ ยันต์ชั้นสูง ตัวเลข 3 ชั้น ชั้นนอกลงด้วยเลข 16 ตัว (โสฬส แปลว่า 16 ชั้นฟ้า มีความหมายถึงภูมิชั้นอรูปภูมิอันเป็นถิ่นที่อยู่ของพระพรหมทั้ง 16 ชั้น และหมายถึงพระ พุทธคุณแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 16 ประการ)  การนำเอายันต์ 3 ชนิดมารวมกันไว้ โดยใช้ตัวเลขแทนด้วยความหมายมงคลต่าง ๆ ตรงกลางช่องเล็ก 9 ช่อง คือ ยันต์จตุโร ถัดมาวงกลางเป็นยันต์สูตรตรีนิสิงเห และด้านนอกสุดเป็นยันต์อริยสัจโสฬส จากนั้นอักขระด้านนอกที่ล้อมยันต์อยู่คือ พระคาถาบารมี 30 ทัศ

References

กิตติพัฒน์ เพ็ชรทองนะ. (2551). การตั้งชื่อยันต์ของคนไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐธัญ มณีรัตน์ และ ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว. (2561). องค์พระและสูญนิพพานในคัมภีร์ตรีนิสิงเห. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 25(3), 8-26.

ณัฐธัญ มณีรัตน์ และ ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว. (2562). ความสำคัญของระบบเลขในคัมภีร์ตรีนิสิงเห. วารสารอักษรศาสตร์, 48(1), 144-161.

ณัฐธัญ มณีรัตน์. (2560). คัมภีร์ตรีนิสิงเห: การตรวจสอบชำระและบทบาทในสังคมไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดิเรก ด้วงลอย. (2563). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบ้านสวน จังหวัดสุโขทัย. สุโขทัย: กองทุนพระครูสุพัฒนพิธาน (ทองดี มหาวีโร).

เทพย์ สาริกบุตร. (2501). พระคัมภีร์พระเวทฉบับจัตตุถบรรพ. กรุงเทพฯ: อุตสาหกรรมการพิมพ์.

ธีรโชติ เกิดแก้ว. (2555). การศึกษาเชิงวิเคราะห์สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในยันต์ไทย. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา, 19(2), 55-72.

พระครูสิริปริยัตยานุศาสก์, และคณะ. (2562). ความเชื่อเรื่องยันต์ในล้านนาจากมุมมองพระพุทธศาสนา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(4), 1999-2022.

พระพิษณุพล สุวณฺณรูโป (รูปทอง). (2554). การศึกษาหลักพุทธธรรมและคุณค่าที่ปรากฏในยันต์เทียนล้านนา: กรณีศึกษาเฉพาะในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วรรณิษา อภัยรัตน์. (2556). จัตุรัสกลกับยันต์ล้านนา. สงขลา: ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

วัชรี สวามิวัศดุ์ (บรรณาธิการ). (2559). วัดพระเมรุราชิการาม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: แกลเลอรี่การพิมพ์.

วานิษา บัวแย้ม. (2556). ศึกษาแนวคิดยันต์รูปตัวละครรามเกียรติ์ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิลักษณ์ ศรีป่าซาง. (2558). คง เข้ม ข่าม ขลังเครื่องรางล้านนา. วารสารราชมงคลล้านนา, 3(1), 13-27.

สิโรตม์ ภินันท์รัชต์ธร. (2561). จิตรกรรมภาพยันต์ตรีนิสิงเห เพดานหอพระไตรปิฎก วัดป่าไผ่อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. วารสารไทยคดีศึกษา, 15(1), 47-96.

อติชาต เกตตะพันธุ์, และคณะ. (2554). คณิตศาสตร์ในระบบเลขยันต์ล้านนา. เชียงใหม่: ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อัญชลี กิ๊บบิ้นส์. (2559). ยันต์ ความพันผูกทางพุทธธรรมภาษา และศิลปะ. วารสารข่วงผญา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 11, 169-202.

Chean, R. M. (2002). The changing religious beliefs and ritual practices among Cambodians in diaspora. Journal of Refugee Studies, 15(2), 222–233.

Cummings, J. (2011). Sacred tattoos of Thailand: Exploring the masters, magic and mystery of Sak Yan. Singapore: Marshall Cavendish.

De La Loubère, S. (2014). Chod mai het La Loubère: Racha anachak Siam. Nonthaburi: Sri Panya. (Original work published 1691)

Demeterio III, F. P. A., Calimag, J., Zafra, B., & Ambion, L. A. (2016). The traditional tattoos of the Philippine Cordillera region: A study on their differences in appearance, causes and discursive strengths.

Drouyer, I., & Drouyer, R. (2013). Thai magic tattoos: The art and influence of Sak Yant. River Books.

Drouyer, I., & Drouyer, R. (2017). Tatouages sacrés, Thaïlande, Cambodge, Laos et Myanmar. Un tatouage peut-il changer votre vie? Soukha Editions.

Gamborg, D. J. (2012). Japanese traditional tattooing in modern Japan (Master's thesis, University of Oslo, Norway). https://www.duo.uio.no/bitstream/handle/10852/24212 /Gamborg.pdf?sequence=3&isAllowed=y

Harris, I. (2008). Cambodian Buddhism: History and practice. Honolulu: University of Hawai'i Press.

Igunma, J. (2008). Human body, spirit and disease; the science of healing in 19th century Buddhist manuscripts from Thailand. The Journal of the International Association of Buddhist Universities, 1, 120–132.

Krutak, L. (2014). Tribal tattoos of Indonesia: An ancestral art. Paris and Arles: Musée du Quai Branly and Actes Sud.

Oo, M. M. (2016). Tattoo art in Myanmar culture: Special reference with state bondsmen of cavalry corps. Ministry of Education, Myanmar. https://www.researchgate.net /publication/331649896

Prateepavanich, S. (2015). The development of fashion from the beliefs and amulets of Thailand. Veridian E-Journal, Silpakorn University International (Humanities, Social Sciences and Arts), 8(5), 59-73.

Rivers, V. Z. (2004). Layers of meaning: Embellished cloth for body and soul. New Delhi: Wisdom Tree.

Stephenson, H. (2019, January 29). The changing status of tattoos in Vietnamese society. The Culture Trip. https://theculturetrip.com/asia/vietnam/articles/the-changing-status-of-tattoos-in-vietnamese-society/

Swearer, D. K. (2004). Becoming the Buddha: The ritual of image consecration in Thailand. Princeton University Press.

Tharmar, N. M. (2015). A pilot study on tattooing culture in Peninsular Malaysia. Management and Science University. https://www.researchgate.net/publication/283258840

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05/15/2024