ค่ายวัดสีกุก และความตายของมังมหานรธาก่อนการเสียกรุงของอยุธยา พ.ศ.2310

ผู้แต่ง

  • พระปลัดระพิน พุทธิสาโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ดิเรก ด้วงลอย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • มัลลิกา ภูมะธน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

คำสำคัญ:

ค่ายวัดสีกุก, มังมหานรธา, การเสียกรุงของอยุธยา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่องค่ายวัดสีกุก และความตายของมังมหานรธาก่อนการเสียกรุงของอยุธยา พ.ศ.2310 มีวัตถุประสงค์ศึกษาถึงเหตุการณ์ในช่วงการเสียกรุงของอาณาจักรอยุธยา เนื่องด้วยวัดสีกุก และความตายของแม่ทัพมังมหานรธา โดยใช้การสำรวจเชิงพื้นที่ จากเอกสาร งานวิจัย นำเสนอในรูปแบบความเรียง ผลการศึกษาพบว่า วัดสีกุกในปัจจุบัน ของอยุธยา ในอดีคเคยเป็นที่ตั้งค่ายของกองทัพพม่า โดยมีแม่ทัพใหญ่เป็นมังมหานรธา จนกระทั่งเสียกรุงอยุธยาใน พ.ศ.2310 โดยก่อนเสียกรุงแม่ทัพมังมหานรธาเสียชีวิต และมีหลักฐานว่ามีการสร้างเจดีย์ เพื่อเป็นอนุสรณ์ดังปรากฏในปัจจุบันที่วัดสีกุก พระนครศรีอยุธยา

References

กรมศิลปากร. (2515). คำให้การของชาวกรุงเก่า คำให้การของขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประดิษฐ์อักษรนิติ. กรุงเทพฯ: คลังภาษา.

กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมณ์. (2549). พัฒนาการแนวคิด และวิธีการอนุรักษ์โบราณสถานในประเทศไทย. ดำรงวิชาการ, 5(2), 133-148.

พรพรรณ โปร่งจิต. (2546). การอพยพเคลื่อนย้ายของกลุ่มชนในสมัยอยุธยาที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ไทย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พลับพลึง คงชนะ. (2537). พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชุมชนเปอร์เชียนอยุธยา. วารสารเมืองโบราณ, 20(3), 25-34.

________. (2542). พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชุมชนจามอยุธยา. วารสารประวัติศาสตร์, (2542), 67-80.

________. (2545). หมู่บ้านโปรตุเกสที่เมืองสิเรียม. วารสารประวัติศาสตร์, (2545), 65-75.

________. (2534). บทบาทของอยุธยาในฐานะที่เป็นเมืองท่า.วารสารประวัติศาสตร์, (2534), 18-27.

พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม, (2561). การบริหารจัดการโบราณสถานในวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, 13(2), 71-79.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2556). การอนุรักษ์โบราณสถาน ศาสนสถาน ปัญหาและแนวทางแก้ไข. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 20(1), 59-74.

สุเนตร ชุตินธรานนท์. (2541). สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2310) : ศึกษาจากพงศาวดารพม่า ฉบับราชวงศ์คองบอง. กรุงเทพฯ: สยาม.

อนันต์ อมรรตัย. (2510). คำให้การชาวกรุงเก่า. กรุงเทพฯ : จดหมายเหตุ.

Harvey, G. (1925). History of Burma. London: Frank Cass & Co. Ltd.

Pamaree, S. (2006). The Changing Nature of Conflict between Burma and Siam as seen from the Growth and Development of Burmese States from the 16th to the 19th Centuries. Singapore: Asia Research Institute.

Sitthiporn, P. (1984). Transfer of Development Rights: New Tool and Technique for Urban Development and Historic Preservation. NAJUA: Architecture, Design and Built Environment, 4(1984), 165-178.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05/15/2024