การพัฒนาการเมืองในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การพัฒนา, การเมือง, ประเทศไทยบทคัดย่อ
การพัฒนาการเมืองของเป็นเทศไทยมีปรากฏมายาวนาน และมาปรากฎเด่นชัดภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย การพัฒนาการปกครองของประเทศไทยมีหลายองค์ประกอบที่ก่อให้เกิการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการพัฒนาสังคม พัฒนาเศรษฐกิจ และพัฒนาการเมือง เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับบริบทของประเทศ แต่ส่วนสำคัญที่จะช่วยในเรื่องการส่งเสริมการพัฒนาการเมืองของประเทศไทยก็จะประกอบไปด้วยส่วนสำคัญที่มีหลากหลายประการ ไม่ว่าจะเป็น ครอบครัว โรงเรียน กลุ่มเพื่อน อาชีพและการสื่อสารของสถาบันการเมือง โดยเฉพาะการสื่อสารถือได้ว่าเป็นหัวใจหลักของการพัฒนาการเมืองของประเทศ
References
กมล ทองธรรมชาติ. (2535). การเมืองและการปกครอง. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช.
กรมการปกครอง. (2550). พัฒนาการการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.
จรูญ สุภาพ. (2535). ระบบการเมืองเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัฒนพานิช.
จิรโชค (บรรพต) วีระสัย และคณะ. (2542). รัฐศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธวัช เบญจาธิกุล. (2529). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของชาวนาในการพัฒนา: หมู่บ้านชาวเขาชนะเลิศการประกวด หมู่บ้านพัฒนาตัวอย่างของศูนย์พัฒนาแลสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2527. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประทาน คงฤทธิ์ศึกษาการ. (2539). การพัฒนาเพื่อพัฒนาประชาธิปไตย และการปฏิรูปการเมืองในรัฐสภา. กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
ประเวศ วะสี. (2537). การพัฒนาประชาธิปไตยและการปฏิรูปทางการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. (2544). แผนพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2538). การเมือง : แนวคิดและการพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เอส แอนดิ้ว กราฟฟิค.
โรงเรียนกันทรารมณ์, ประวัติการปกครองระบอบประชาธิปไตย. สืบค้น 27 กรกฎาคม 2564, จากhttp://www.kr.ac.th/ebook/saiyud/b 1.htm
Sartori, G. (1965). Democratic Theory. N.Y.: F.A. Pracger.