วัฒนธรรมทางการเมืองกับความคาดหวังด้านเศรษฐกิจของประชาชนไทยในปี 2566 - 2567
คำสำคัญ:
วัฒนธรรมทางการเมือง, ความคาดหวัง, เศรษฐกิจบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งเน้นศึกษา วัฒนธรรมทางการเมืองกับความคาดหวังด้านเศรษฐกิจของประชาชนไทยในปี 2566 – 2567 ผลการศึกษาพบว่า 1.วัฒนธรรมทางการเมืองเป็นวัฒนธรรมการเมืองไทยเป็นแบบปลูกฝังให้เกิดมีความเป็นประชาธิปไตยแต่สิ่งตรงข้ามที่ได้รับคือมีความกดขี่กันพอสมควรโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของนโยบายสาธารณะซึ่งประชาชนไม่มีสิทธิ์ที่จะแสดงความคิดเห็นต้องเป็นผู้แทนราษฎรในการที่จะเป็นกระบอกเสียงให้แก่ประชาชนมีความยึดมั่นในความคิดเดิมคือไม่สามารถออกความคิดเห็นได้ 2.ความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อภาครัฐ คือการเข้ามาเยียวยาและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจซึ่งมีความย่ำแย่โดยภาพรวมอาจจะไม่เห็นภาพชัดแต่ถ้ามองถึงสภาพปัญหาในปัจจุบันนี้ข้าวของมีสภาพที่แพงมากเกินกว่าแรงงานขั้นต่ำ ความหวังที่เกี่ยวกับการเมืองที่ต้องการยกระดับสภาพเศรษฐกิจให้แก้ปัญหาวิกฤตปากท้องของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของปัจจัย 4 ที่เป็นปัจจัยพื้นฐาน
References
จิรโชค วีระสัย. (2543). สังคมวิทยาการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
รัฐบาลไทย. (2567). ผลประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2567. สืบค้น 21 สิงหาคม 2567 จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/82559
เศรษฐกิจ. (2567). 3 สาเหตุสำคัญที่ทำให้ ของราคาแพง ขึ้น – แล้วเราจะรับมือกับมันยังไงได้บ้าง. สืบค้น 21 สิงหาคม 2567 จาก https://www.moneybuffalo.in.th/economy/3-major-reasons-that-make-things-more-expensive.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2549). การเมืองไทย.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์เสมาธรรม.
G.A. Almond & Bingham Powell. (1966). Comparative Politics : A Developmental Approach. Boston : Little, Brown and company.
G.A. Almond & S. Verba. (1965). The Civic Culture : Political Attitudes and Democracy in Five Nations. Boston: Little, Brown and company.
Vroom, V. H. (1970). Work and Motivation. New York: John Wiley & Sons.