วิวัฒนาการของการครอบครองปรปักษ์

ผู้แต่ง

  • พระครูชินวีรบัณฑิต (เอก ชินวํโส) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เจษฎากรณ์ คุณคำเท็ญ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ธวัช แย้มปิ๋ว มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

วิวัฒนาการ, กฎหมาย, การครอบครองปรปักษ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิวัฒนาการของการครอบครองปรปักษ์ คำว่า “ครอบครองปรปักษ์” เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายสำหรับวงการกฎหมายในปัจจุบัน โดยใช้สำหรับการนิยามการกระทำที่ทำให้ได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของบุคคลอื่น ด้วยการครอบครองตามระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ซึ่งการกระทำดังกล่าวนักกฎหมายไทยได้มีการตีความอย่างหลากหลายว่า จุดประสงค์ที่แท้จริงของการครอบครองปรปักษ์ คือ อะไร และจะต้องอาศัยความสุจริตหรือไม่ และถ้าการกระทำนั้นไม่สุจริต หรือทรัพย์สินที่ครอบครองปรปักษ์มาจากการกระทำความผิดแล้ว จะได้กรรมสิทธิ์อย่างไร หลักคิดของการครอบครองปรปักษ์จากวิวัฒนาการของการครอบครองปรปักษ์มีจุดร่วมและจุดที่แตกต่างของหลักคิดที่มีต้นกำเนิดแตกต่างกันออกไป เพื่อการนำมาปรับใช้ในการแก้ปัญหาการครอบครองปรปักษ์

References

ประชุม โฉมฉาย. (2553). กฎหมายเอกชนเปรียบเทียบเบื้องต้น: จารีตโรมันและแองโกลแซกซอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประชุม โฉมฉาย. (2555). หลักกฎหมายโรมันเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มานิตย์ จุมปา. (2548). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยทรัพย์สิน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์. (2551). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 4 ว่าด้วยทรัพย์สิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

เสนีย์ ปราโมช. (2528). อธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์: กฎหมายลักษณะทรัพย์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิชย์.

โสภณ รัตนากร. (2530). การครอบครองปรปักษ์: ชื่อที่อาจทำให้หลงผิด. วารสาร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 14(2), 73-80.

หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล. (2533). การครอบครองปรปักษ์: ข้อความคิดและวิวัฒนาการ. วารสารคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 20(4), 86-98.

Brissaud, J. (1968). A history of French Private Law. New York: Augustus M. Kelley.

DK London. (2011). The Philosophy Book. London: Dorling Kindersley Limited.

MacKenzie, J.A. & Mary Phillip, M. (2010). Textbook on Land Law. Oxford University Press: UK.

Moyle, J.B. (1928). The Institutes of Justinian. Oxford: The Clarendon Press.

Nicholas, B. (1977). An Introduction to Roman Law. Oxford: The Clarendon Press.

Prichard, A.M. (1906). Leage's roman private law. London: Macmillan Co Ltd.

Roby. H.J. (1975). Roman Private Law in the times of Cicero and of the Antonines. Cambridge: University Press.

Sherman, C.P. (1911-1912). Aquisitive Perscription uniformity. (The Yale Law Journal). Vol. 21. (1911-1912). It's existing world-wide.

Thomas J.A.C. (1975). The Institutes of Justinian, text, translation and commentary, Amsterdum: North-Holland Publishing Company.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05-07-2024