10 นโยบายหลักกระทรวงมหาดไทย : ความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยประยุกต์ตามหลักพุทธธรรม
คำสำคัญ:
นโยบาย, หลักพุทธธรรม, กระทรวงมหาดไทย, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบทคัดย่อ
กระทรวงมหาดไทยได้กำหนด 10 นโยบายหลัก เพื่อดำเนินการ สำหรับ หน่วยงานในสังกัด ในภาพรวมอาจมีความเป็นไปได้สูง สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดของกระทรวงมหาดไทย การนำนโยบายหลักทั้ง 10 นโยบาย ไปสู่การปฏิบัติ มีประเด็นที่ต้องพิจารณาหลายประการ เนื่องจากนโยบายหลัก ได้กำหนด ในภาพรวม สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นองค์กร ที่ปฏิสัมพันธ์กับประชาชน อย่างใกล้ชิด จำเป็นต้อง มีการวิเคราะห์นโยบาย และดำเนินนโยบายไปตามกระบวนการของนโยบาย บูรณาการกับการใช้หลักพุทธธรรมคือหลักฆราวาสธรรม 4 ได้แก่ สัจจะ ซื่อสัตย์ พูดจริงทำจริง มทะ การฝึกฝน ฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับนโยบายทั้ง 10 ประการ ขันติ ความอดทน พากเพียรพยายามอดทนอดกลั้นในการวางแผนดำเนินนโยบาย จาคะ เสียสละทรัพยากรและกำลังคนในการดำเนินการตามนโยบาย จะทำให้สามารถดำเนินนโยบายให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2545). อำนาจหน้าที่. สืบค้น 10 มกราคม 2567 จาก https://www.dla.go.th/servlet/DLAServlet?visit=history.
กระทรวงมหาดไทย. (2566). แผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2566-2570. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.
______. (2567). ประวัติความเป็นมาของกระทรวงมหาดไทย. สืบค้น 13 เมษายน 2567 จาก https://moi.go.th/moi.
รัฐบาลไทย. (2566). นโยบายจัดทำงบประมาณปี 67 ของหน่วยงานกระทรวงมหาดไทย. สืบค้น 11 เมษายน 2567 จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/72949.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2550). กฎหมายการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: ธรรมกมลการพิมพ์.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2553). นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
Dye, T.R. (1984). Understanding Public Policy. (5th ed). Englewood Cliffs New Jersey: Prentics-Hall, Inc.
Easton, D. (1953). The Political System: An Inquiry into the State of Political Science. New York: Alfred A. Knopf Inc.
