ประสิทธิผลการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ไทย

ผู้แต่ง

  • พระครูนันทจรณธรรม (ณนณัฏฐ์ จารุธมฺโม) วัดสักใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
  • พระมหาสวัสดิ์ ฐิตวณฺโณ (อินกอง) วัดบ่อ จังหวัดนนทบุรี

คำสำคัญ:

ประสิทธิผล, การเผยแผ่พระพุทธศาสนา, คณะสงฆ์ไทย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ไทย ประสิทธิผลการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเกิดจากกระบวนการเผยแผ่ที่มีคุณภาพ แผนหรือนโยบายในการเผยแผ่ที่ชัดเจน ผู้เผยแผ่มีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบของการเผยแผ่ มีความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ช่องทาง และวิเคราะห์ผู้รับสื่อ ทั้งนี้จะต้องพิจารณาจากแนวทางการดำเนินการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ด้วยว่า เป็นไปในทิศทางใด ประสิทธิผลการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ไทยจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก ๆ คือ นโยบายหรือทิศทางการเผยแผ่ของคณะสงฆ์ คุณสมบัติของนักเผยแผ่ การบริหารปัจจัยการเผยแผ่ ผสมผสานกับหลักการสื่อสารที่ดี หากได้มีการดำเนินการดังกล่าวแล้วนี้จะส่งผลให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ไทยมีประสิทธิผล สามารถเข้าถึงประชาชนได้ ประชาชนมีส่วนร่วม เกิดการพัฒนาความรู้ และอยู่อย่างเป็นสุข ในสังคมไทย

References

กิติมา สุรสนธิ. (2548). ความรู้ทางการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2553). การจัดการสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.

พระเทพเวที (พล อาภากโร). (2564). สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต 2564. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2534). นิติศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิพุทธธรรม.

พระมหาปรีชา สาเส็ง. (2560). ประสิทธิผลการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตอาสาใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.

พระมหาสุริยา อภิวฑฺฒโน (มะสันเทียะ). (2564). ประสิทธิผลการบริหารจัดการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 11 (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิสิฐ เจริญสุข. (2535). คู่มือการเผยแผ่พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมการศาสนา.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2545). ประมวลสาระ ชุดวิชาการบริหารการพัฒนา 1 สาขาวิทยาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สนิท ศรีสำแดง. (2544). ปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุกัญญา โฆวิไลกูล. (2545). การวิเคราะห์ระบบเพื่อการบริหารสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสนาะ ผดุงฉัตร. (2540). วาทศาสตร์ศิลปะเพื่อการพูด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Cameron, K.S. (2008). A process for changing organization culture. Los Angeles: SAGE.

Gordon, J.R. (2001). A diagnostic approach to organizational behavior (7th Ed.). Boston, MA: Prentice Hall.

Hannan, M.T. & Freeman, J. (1997). Perspectives on organizational effectiveness. San Francisco: Jossey - Bass.

Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2001). Educational administration: Theory. research and practice (6th Ed.). New York: McGraw-Hill.

Robbin, S.P. (2005). Organizational behavior. N.J.: Pearson Education Inc.

Schein, E.H. (1992). Organizational culture and leadership (2nd Ed.). San Francisco: Jossey - Bass.

Talcott, P. (1971). The Social Systems. New York: Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-06-2025