การบริหารจัดการกลุ่มภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา ศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง)
คำสำคัญ:
กลุ่มอาชีพ, ศูนย์การเรียนรู้, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การบริหารจัดการบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาการเกิดกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 2) ศึกษาสภาพปัญหาของกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการกลุ่มภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 5 คน และผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เครื่องบันทึกภาพ 2) แบบบันทึกการสังเกต 3) แบบสัมภาษณ์ และ 4) เครื่องบันทึกเสียง เก็บรวมรวบข้อมูลโดยการลงสำรวจภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาการการเกิดกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) พบว่า มี 4 ขั้นตอน คือ 1.1) ขั้นก่อตัวของกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 1.2) ขั้นตอนการรวมตัวกันของกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 1.3) ขั้นการผลิตสินค้าภายในกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 1.4) ด้านขั้นตอนการบริหารจัดการกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 2) สภาพปัญหาของกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) ดังนี้ 2.1) ปัญหาการผลิตศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 2.2) ปัญหาบรรจุภัณฑ์ศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 2.3) ปัญหาด้านการตลาดของกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง)2.4) ปัญหาด้านการบริหารจัดการกลุ่มศูนย์การเรียนรู้บ้านสมุนไพรบ้านคีรีวง (กลุ่มเครื่องแกง) 3) การบริหารจัดการกลุ่มภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 3.1) ความพอประมาณ 3.2) ความมีเหตุผล 3.3) การมีภูมิคุ้มกัน 3.4) การมีความรู้ 3.5) การมีคุณธรรม
References
ขวัญชนก เจริญสุข และคณะ. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อสินค้าที่ศูนย์การค้าเทอร์มินอล ทเวนตี้วัน. เรียกใช้เมื่อ 21 มีนาคม 2564 จาก http://thaiejournal.com/journal/2555volumes2/ Kwanchanok.pdf
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2546). โลจิสติกส์ และการจัดการซัพพลายเชน. กรุงเทพมหานคร: นัฐพร.
ธีรพล กาญจนธัญรัตน์. (2554). กลยุทธ์การคงอยู่ของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในจังหวัดชลบุรี. ใน วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจสำหรับผู้บริหาร. มหาวิทยาลัยบูรพา.
นงนุช พ้นยาก. (2549). เศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษาธุรกิจผ้ากาบบัว บ้านโนนสวาง ตำบลโนนสว่าง อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การพัฒนา. มหาวิทยาลัยอุบาลราชธานี.
บัณฑร อ่อนดํา. (2533). ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประชิด ทิณบุตร. (2531). การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์. (2540). เศรษฐกิจชุมชน: ทางรอดที่ยั่งยืนของชาติ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัย และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2543). กระบวนการ และเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
รุ่งทิพย์ เสมอเชื้อ. (2550). การบริหารจัดการธุรกิจชุมชนของกลุ่มอาชีพไม้กวาดลายดอกแก้ว: กรณีศึกษา ตำบลดงสุวรรณ อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา. ใน การศึกษาอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2538). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
สมพงษ์ เฟื่องอารมณ์. (2550). บรรจุภัณฑ์กับการส่งออก. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.
สุลีพร ทองงาม. (2550). การพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพ ตำบลฉลอง อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
อรทิพย์ เรืองกุล. (2547). กลยุทธ์การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในเขต เทศบาลเมืองกําแพงเพชร. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.