การพัฒนาแนวทางในการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน
Main Article Content
บทคัดย่อ
ประเทศไทยพึ่งพารายได้จากการท่องเที่ยวเป็นหลัก ปัจจุบันการท่องเที่ยวแบบเดิมที่มุ่งเน้นปริมาณโดยไม่คำนึงถึงความเสื่อมโทรมของทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีอยู่ ก่อให้เกิดปัญหาสังคม ไม่ตอบโจทย์ความต้องการของคนในชุมชน สวนกระแสการท่องเที่ยวโลกที่ก้าวไปสู่การท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและยั่งยืน บทความนี้ต้องการชี้ให้เห็นว่าหากรัฐต้องการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนก็ต้องสร้างสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ กับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่คุณภาพชีวิต ความสุขของคนในชุมชน นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Journal of TCI is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) licence, unless otherwise stated. Please read our Policies page for more information...
References
เอกสารอ้างอิง
กรมการท่องเที่ยว. (2566). แนวทางการพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและความยั่งยืนทางการท่องเที่ยว. สืบค้น 2567, ตุลาคม 18, จาก https://www.dot.go.th/
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (ม.ป.ป). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. สืบค้น 2567, ตุลาคม 22, จาก https://www.mots.go.th/
กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). รายงานภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว (Tourism Economic Review). สืบค้น 2567, ตุลาคม 22, จาก https://elibrary.tceb.or.th/
ศุภารมย์ ประสาทแก้ว. (2565). การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการท่องเที่ยวด้านอาหาร ผ่านกระบวนการเรียนการสอนทำอาหารไทยเพื่อการท่องเที่ยว. วารสารไทยคดีศึกษา, 19(1), 109-136
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2563). การยกระดับการท่องเที่ยวมูลค่าสูงบนพื้นฐานวัฒนธรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ. สืบค้น 2567, ตุลาคม 25, จาก https://www.nstda.or.th/
อัญชลี ศรีเกตุ และ ปิยะนุช เงินคล้าย. (2564). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(1), 250-262
Thailand Policy Lab. (2564). สร้างชาติด้วยการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนไทยอยู่ตรงไหนบนนเวทีโลก. สืบค้น 2567, ตุลาคม 12, จาก https://thailandpolicylab.com/
UN Tourism. (2024). Tourism-data/un-tourism-tracker. สืบค้น 2567, ตุลาคม 15, จาก https://www.unwto.org/
YANG YAJUN. (2560). ชุมชนบ้านชากแง้ว: การฟื้นฟูและการดำรงอยู่ (พ.ศ. 2552-2558). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, สาขาวิชาไทยศึกษา.