แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธ
คำสำคัญ:
การพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธบทคัดย่อ
แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธ มีปรัชญาที่ว่ามนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐที่พัฒนาให้ดีขั้นได้ สามารถที่จะเรียนรู้จนมีปัญญา เข้าถึงสัจจะธรรมได้มนุษย์สามารถพัฒนาไปสู่ภพภูมิที่ดีกว่าเดิมได้ ทั้งใน ระดับโลกียภูมิ สำหรับมนุษย์ปุถุชนทั่วไป และระดับโลกุตรภูมิ สำหรับการพัฒนาเป็น “อริยบุคคล” คือ เป็นบุคคลที่มีภู มิธรรมเหนือกว่า “ปุถุชน” ที่ยังถูกครอบงำด้วย “อวิชชา” ซึ่งเป็นที่มาของกิเลสทำให้เกิดความโลภ ความโกรธ เกลียด อาฆาตแค้น แย่งชิงทรัพยากร คดโกง ฉ้อราษฎร์บังหลวง จริยธรรมตกต่ำ และทำลายล้างกันทั้งในระดับบุคคล ระดับประเทศ และระดับระหว่างประเทศ เป็นปัญหาสำคัญของชาวโลก อย่างไรก็ตาม สามารถนำหลักธรรมมาปรักใช้ อาทิ หลักไตรสิกขา 3 หลักภาวนา 4 หลักพละ 5 และหลักมรรค 8 โดยหลักธรรมเหล่านี้เป็นเพียงบางส่วนที่สามารถนำมาใช้กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แนวพุทธซึ่งมีหลายหน่วยงานนิยมนำมาใช้เพิ่มพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้น
References
คำนาย อภิปรัชญากุล. (2556) MBA 15 Days Handbook. กรุงเทพมหานคร: บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด.
โชติชวัล ฟูกิจกาญจน์. (2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: รูปแบบ วิธีการ และแนวทางการนำไปปฏิบัติ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (มกราคม-มิถุนายน 2556).
เฉลียว ภากะสัย. (2550). แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมองคการ. กรุงเทพมหานคร: เนชั่น.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2554). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: แซท โฟร์ พริ้นติ้ง.
บุษกร วัฒนบุตร. (2558). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยพุทธบูรณาการ. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 41 ฉบับที่ 1.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2547). วัฒนธรรมองคกร. กรุงเทพมหานคร: เนชั่น.
พระครูปลัดสมชาย อภิวณฺโณ (เฮาลี้). (2014). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แนวพุทธ. JOURNAL OF NAKHONRATCHASIMA COLLEGE, Vol.8 No.1 (January – June 2014).
พระพิทักษ์ คุณารกฺโข (ใจคง). (2565). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แบบยั่งยืนเชิงพุทธ. วารสารวิจัยวิชาการ, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน).
เพชรรัตน์ จินต์นุพงศ์. (2566). อิทธิพลของวัฒนธรรมองค์กรและความผูกพันธ์ในงานที่มีต่อสมรรถนะของพนักงานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, ปี่ที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2566).
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2539). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2545). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ศุภวรรณ คงเสมา และคณะ. (2565). วัฒนธรรมองค์กร : เงื่อนไขสําคัญของการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 (ธันวาคม 2565).
ศิริศักดิ์ นันติ. (2558). การบูรณาการการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามทฤษฎีตะวันตกกับหลักการทางพระพุทธศาสนา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์แบะสังคมศาสตร์. ปีที่ 23 ฉบับที่ 41 (มกราคม - เมษายน 2558).
ศิริพร เชาวลิต. (2559). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สำคัญอย่างไร. วารสารนวัตกรรมการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 2559).
แสนสุริยา รักเสมอ. (2566). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธธรรม. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 (กันยายน -ตุลาคม 2566).
สมยศ นาวีการ. (2546). การบริหารเชิงกลยุทธ. กรุงเทพมหานคร: บรรณกิจ.
สุดารัช ชัยศรี และภาวิน ชินะโชติ. (2020) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของพนักงานผู้ให้บริการทางการแพทย์และการพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร. Journal of Administrative and Management Innovation. Vol.8 No.2 (May - August 2020).
วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : วิจิตรหัตถกร.
อรรถพล หวังสู่วัฒนา. (2565). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในบริษัทไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2565).
BrightSide. (2566). ความสำคัญของ “วัฒนธรรมองค์กร”. สืบค้น 9 เมษายน 2566 จาก https://shorturl.asia/p12BI
Champoux, J.E. (2006). Organizational Behavior. (3rded.). Ohio : Thomson South-Western.