เพลงลูกทุ่ง สาวเพชรบุรี ลาสาวแม่กลอง ลาสาวโพธาราม นิราศรักนครปฐม หนึ่งในดำเนิน: บทวิเคราะห์ว่าด้วยเพลงกับมิติเชิงพื้นที่ดนตรี และการสื่อสาร
บทคัดย่อ
บทความวิชาเรื่องเพลงลูกทุ่ง สาวเพชรบุรี ลาสาวแม่กลอง ลาสาวโพธาราม นิราศรักนครปฐม หนึ่งในดำเนิน : บทวิเคราะห์ว่าด้วยเพลงในมิติเชิงพื้นที่ ดนตรี และการสื่อสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สะท้อนคิดบริบทในเพลง ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารและวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเรียบเรียงเป็นบทความวิชาการ
ผลการศึกษาพบว่า เพลงสาวเพชรบุรี ลาสาวแม่กลอง สาวโพธาราม นิราศรักนครปฐม หนึ่งในดำเนิน เป็นเพลงลูกทุ่งที่สะท้อนบริบทเชิงพื้นที่ที่ว่าด้วยประวัติ คมนาคม วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา รวมถึงอารมณ์ในเพลงที่ผู้แต่งสะท้อนถึงความประทับใจ ความรักระหว่างชายหนุ่มหญิงสาว และเหตุการณ์ บุคคล พื้นที่ที่อยู่ในวิถีของเพลงนั้น นอกจากนี้เพลงยังเป็นเครื่องมือในการสื่อสารผ่านวิถีของเพลง ดนตรี และทัศนความคิดผ่านการประพันธ์ของผู้แต่งเพลงด้วย
References
เคน สองแคว. (9 มิถุนายน 2560). ลูกทุ่งทหาร. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2563. จาก https://www. komchadluek.net/news/ent/270246
จำนงค์ ไชยมงคล. (2562). กระบวนทัศน์เชิงพุทธจิตวิทยาในเพลงลูกทุ่งไทยวารสาร.มหาจุฬานาครทรรศน์, 6(6), 2911-2932.
จินตนา ดำรงค์เลิศ. (1998). พินิจเพลงลูกทุ่งในแง่วรรณกรรมพื้นบ้านพื้นเมือง. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 23(3), 18-29.
เจด็จ คชฤทธิ์. (2013). ความยากจนในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่ง : มุมมองและข้อสังเกตบางประการ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 3(2), 187-201.
ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล. (2015). ไพบูลย์ บุตรขัน กับภูมิปัญญาทางสังคมและวัฒนธรรมที่ปรากฏในบทเพลงลูกทุ่งไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 6(2),29-37.
ดิเรก ด้วงลอย และคณะ. (2559).ดนตรีในพระไตรปิฎกว่าด้วยการบำบัด บุญ และการบรรลุธรรม. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ, 1(2),118-134.
ตันหยง วงวาน, ศรชัย มุ่งไธสง, ณัฏฐพล สันธิ. (2017). การวิเคราะห์ภาษาภาพพจน์ที่ปรากฏในเพลงลูกทุ่ง:กรณีศึกษาบทเพลงของนักร้องหญิงต่าย อรทัย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 10(3), 249-261.
ถาวรดา จันทนะสุต. (2008). พุ่มพวง ดวงจันทร์ จุดพลิกผันของเพลงลูกทุ่งไทย.วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 37(1),1-22.
ทับทิม ชัยชะนะ โกชัย สาริกบุตร รังสรรค์ จันต๊ะ. (2016). บทบาทของผู้หญิงสามัญในเพลงลูกทุ่งร่วมสมัย. พิฆเนศวร์สาร, 12(2), 53-62.
ทัศน์วศิน ธูสรานนท์ พรพรรณ ประจักษ์เนตร. (2560). พัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยม ของสังคมไทย จากอดีตสู่ปัจจุบัน. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ, 4 (2), 1-30.
ทัศน์วศิน ธูสรานนท์,พรพรรณ ประจักษ์เนตร. (2560). พัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยม ของสังคมไทย จากอดีตสู่ปัจจุบัน. วารสารการสื่อสารและนวัตกรรม นิด้า, 4(2),1-30.
ประทีป แขรัมย์. (2018). วรรณกรรมเพลงพื้นบ้านกันตรึม: กรณีศึกษาการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมรตามแนวบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์, 20(1), 95-107.
ประมาภรณ์ ศิริภูมี, เมธานนท์ สงสุระ, ปพิชญา พรหมกันธา, พัทธนันท์ พาป้อ, ปุ่น ชมภูพระ. (2019). สุนทรียภาพทางภาษาในบทเพลงไทยลูกทุ่งของ เต้ย อธิบดินทร์. วารสารปัญญา, 26(1),1-13.
ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์.(2018).ปฏิบัติการทางวาทกรรมในวัฒนธรรมสมัยนิยมผ่านเพลงลูกทุ่งไทย. กระแสวัฒนธรรม, 19 (36),74-81.
ปิยวรรณ กันทอง. (2561). เพลงลูกทุ่งลาวกับการประกอบสร้างความทันสมัย. วิวิธวรรณสาร, 2(2), 13-33.
พรทิพย์ ฉายกี่, จันทนา แก้ววิเชียร.(2018). วิเคราะห์แนวคิดและศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งที่แต่งโดย สลา คุณวุฒิ. ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, 20(1), 91-99.
พันธกานต์ ทานนท์. (2562).การสร้างแบรนด์บุคคลของศิลปินลูกทุ่ง ป๊อปปี้ ปรัชญาลักษณ์. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 2(3), 145-169.
พิษณุพงษ์ ญาณศิริ, โกวิทย์ พิมพวง, วิไลศักดิ์ กิ่งคำ. (2014). ภาพสะท้อนสังคมกับรสวรรณคดีในเพลงลูกทุ่งไทย พ.ศ. 2500-2550. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 33,(3), 145-156.
เพชรรุ่ง เทียนปิ๋วโรจน์. (2015).รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรีและเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 : เอกสารประวัติศาสตร์ราชบุรีและสมุทรสงครามในสมัยรัชกาลที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 5(2), 147-166.
มะณีรัตน์ รักเพื่อน, จารุวรรณ ธรรมวัตร, โสภี อุ่นทะยา.(2017). สารัตถะของเรื่องเล่าในเพลงลูกทุ่งอีสาน.วารสารวิชาการรมยสาร, 15(3), 145-155.
ราชกิจจานุเบกษา. (2559). ข้อกําหนดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง การจัดตั้งวิทยาลัยสงฆ์ราชบุรี พุทธศักราช 2558 เล่ม 133 ตอนพิเศษ 48 ง หน้า 40.
ราชกิจจานุเบกษา. (2562). ข้อกำหนดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง การจัดตั้งวิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี พุทธศักราช 2562 เล่ม 132 ตอนพิเศษ 104 ง หน้า 65.
วีระพงศ์ มีสถาน. (2550). คนราชบุรี. ราชบุรี: ธรรมรักษ์การพิมพ์ จำกัด.
สัจจา ไกรศรรัตน์. (2555). วัฒนธรรม 8 ชาติพันธุ์จังหวัดราชบุรีในบริบทของการท่องเที่ยว. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 8(2), 22.
สัญญา ชีวะประเสริฐ. (2017). พุ่มพวง ดวงจันทร์ ปรากฏการณ์ของเพลงลูกทุ่ง. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 36(1), 133-153.
สาทร ศรีเกตุ. (2013). ภาพสะท้อนและพลังขัดแย้งของกระบวนการเป็นสากลของรัฐในเพลงลูกทุ่งไทยช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงยุคเผด็จการทหาร.วารสารสังคมศาสตร์, 43(2), 105-123.
สิริชญา คอนกรีต. (2015). ดนตรี เทศกาล และอาชีพในเพลงลูกทุ่ง : อัตลักษณ์และการต่อรองของคนอีสาน.วารสารอักษรศาสตร์, 44(2), 71-102.
สิริชญา คอนกรีต. (2558). ดนตรี เทศกาล และอาชีพในเพลงลูกทุ่ง: อัตลักษณ์และการต่อรองของคนอีสาน. วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 44(2),71-102.
สิริชญา คอนกรีต. (2560). กลวิธีทางภาษาในเพลงลูกทุ่งเพื่อสื่อสารอัตลักษณ์และการเมืองเชิงวัฒนธรรม ของคนอีสานพลัดถิ่น.Verdian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(2), 1577-1594.
สุนทรี ดวงทิพย์. (2015). การศึกษาวิเคราะห์วรรณศิลป์ในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งของหนูมิเตอร์. สักทอง:วารสารมนุษยศาสตร์, 21(2),67-82.
อรวรรณ ชมดง,อรทัย เพียยุระ. (2557). เพศวิถีและสังคมไทยในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่ง. วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 3(2),76-98.
อิทธิเดช พระเพ็ชร,เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงจันทร์. (2562). เพลงลูกทุ่งไทยในบริบทจักรวรรดินิยม (พ.ศ. 2500 –2530) : การสื่อสารภาพแทนความเป็นไทยที่ยังไม่ถูกสร้าง. วารสารนิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 37(1), 59-69.
อุไรวรรณ สิงห์ทอง, หนึ่งฤทัย ม่วงเย็น, ขวัญดาว บุญทอง. (2017). วิเคราะห์การใช้ภาษาในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งของใบเตย อาร์สยาม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 11(1), 73-78.