การปฏิบัติตนคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา
คำสำคัญ:
การปฏิบัติตน, คุณธรรมจริยธรรม, แนวทางพระพุทธศาสนาบทคัดย่อ
การปฏิบัติตนทางด้านคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางของพระพุทธศาสนา โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารตำรารวมถึงการวิเคราะห์ พบว่า การปฏิบัติตนด้านคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนาสามารถทำให้เยาวชน มีความกตัญญูกตเวที ความมีระเบียบวินัย ความเมตตากรุณา ความเป็นผู้ว่าง่าย ความขยันหมั่นเพียร และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่โอบอ้อมอารีต่อบุคคลและสัตว์ โดยสามารถปฎิบัติควบคู่กับการดำเนินชีวิตในโลกปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ยังส่งผลให้เยาวชนมีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างมากขึ้น การชี้ให้เห็นถึงการรู้เท่าทันสื่อสมัยใหม่ รู้จักตระหนักคิดและพัฒนาตนเองสามารถรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
References
กรมการศาสนา. (2563). จริยธรรมสำหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (ม.ป.ป.).(2567). เอกสารเผยแพร่ความรู้ เรื่อง การเรียนการสอนที่เกี่ยวกับ คุณธรรมจริยธรรม. สืบค้น 20 เมษายน 2567, จาก http://www.edu.ru.ac.th/images/edu_files/KM06km_virtue-curriculum.pdf
ฉัตร คำแสง. (2556). เด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2022.กรุงเทพฯ : บริษัท ซัคเซส พับลิเคชั่น จำกัด
เนตรพัณณา ยาวิราช. (2556). จริยธรรมธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด.
พระครูสุขุมสังฆการ (วรเมธ โพธิสาโร/ ศรีโพธิ์วัง).(2548). การประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาเยาวชน: กรณีศึกษา พระเทพวงศาจารย์ (คูณ ขันติโก). วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ไพศาล ภู่ไพบูลย์ อังคณา ตติรัตน์ และปนัดดา มีสมบัติงาม. (2556). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.
สมสุข นิธิอุทัย. (2554). การพัฒนาเยาวชนตามแนวพุทธในสังคมไทยวิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.