การศึกษาแนวทางการบริหารงานกองทุนหมู่บ้าน : กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านบ้านทุ่งขันหมาก หมู่ที่ 6 ตำบลเขาน้อย อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช

ผู้แต่ง

  • สรวิศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ประเทศไทย
  • ประสิทธิ์ อ่อนจันทร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ประเทศไทย
  • จิตติมา ดำรงวัฒนะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ประเทศไทย
  • อรรครา ธรรมาธิกุล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ประเทศไทย
  • พระครูวินัยธรสุริยา สุริโย (คงคาไหว) หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ประเทศไทย

คำสำคัญ:

แนวทางการบริหารงาน, กองทุนหมู่บ้าน, ศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการ, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน : กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านบ้านทุ่งขันหมาก หมู่ที่ 6 ตำบลเขาน้อย อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช และแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน : กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านบ้านทุ่งขันหมาก หมู่ที่ 6 ตำบลเขาน้อย อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง โดยเลือกแบบเจาะจง โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก รวมทั้งหมด 25  คน 1) เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน จำนวน 13 คน 2) ตัวแทนสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน จำนวน 4 คน 3) ตัวแทนผู้นำชุมชน จำนวน 4 คน 4) เจ้าหน้าที่พนักงานธนาคาร จำนวน 2 คน  5) องค์การบริหารส่วนตำบลเขาน้อย จำนวน 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบร่วมข้อมูลในครั้งนี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมเพื่อใช้สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจะนำผลการสัมภาษณ์และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมมาเรียบเรียงแล้ววิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัญหาการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน แบ่งออกเป็น 4 ด้าน พบว่า 1) ด้านเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน พบว่า โดยภาพรวมแล้วคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านจะมีปัญหาในเรื่องของการมีความรู้ ความชำนาญ 2) ด้านตัวแทนสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน พบว่า การเป็นสมาชิกในการประชุมทุกครั้ง 3) ด้านการวางแผนกองทุนหมู่บ้าน พบว่า การเก็บเงินของกองทุนไม่ว่าจะเป็นสมาชิกรายเก่าหรือสมาชิกรายใหม่คือ 4) ด้านการจัดเก็บเงินของกองทุนหมู่บ้าน พบว่า การจัดเก็บเงินแต่ละครั้ง 2) แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน แบ่งออกเป็น พบว่า 1) ด้านเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 2) ด้านตัวแทนสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน 3) ด้านการวางแผนงานกองทุนหมู่บ้านที่ 4) ตัวแทนแจ้งข้อมูลการจัดเก็บเงินของกองทุนหมู่บ้าน

References

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). (2566). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 139 ตอนพิเศษ 2558 ง ราชกิจจานุเบกษา 1 พฤศจิกายน 2565.

พิเชษฐ์ ตระกลูกาญจน์. (2561). การสร้างรูปแบบการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง. ใน วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาเขตดุสิต.

วิชิต แย้มยิ้ม. (2560). แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนยุติธรรมสำหรับประเทศไทย. วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ, 3(1), 63-72.

วิษณุ หยกจินดา. (2567). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน หมู่บ้านทุ่งกร่าง ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทรบุรี. ใน วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศรัญยา ไม่เสื่อมสุข และคณะ. (2560). ปัจจัยเอื้อต่อการบริหารจัดการกองทุนหม่บ้านที่ประสบความสำเร็จ. เรียกใช้เมื่อ 12 มกราคม 2568 จาก https://kukr.lib.ku.ac.th/kukr_es/BKN_EDU/search_

detail/result/20003138

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). สำนักนายกรัฐมนตรแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). เรียกใช้เมื่อ 10 มกราคม 2568 จาก https://www.nesdc.go.th/download/Plan13/Doc/Plan13_DraftFinal.pdf

สุวลังก์ วงศ์สุรวัฒน์ และคณะ. (2562). การบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองระดับดีมาก: กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม. วารสารสันติศึกษาปริทรวศน์ มจร, 7(3), 888-898.

อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน สำหรับนักบริหารท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.

Thai PBS. (2554). อุทกภัย 2554 ธุรกิจสะดุด ฉุดเศรษฐกิจไทย. เรียกใช้เมื่อ 10 มกราคม 2568 จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/40780

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-30

How to Cite

สรวิศ, ประสิทธิ์ อ่อนจันทร์, จิตติมา ดำรงวัฒนะ, อรรครา ธรรมาธิกุล, & พระครูวินัยธรสุริยา สุริโย (คงคาไหว). (2025). การศึกษาแนวทางการบริหารงานกองทุนหมู่บ้าน : กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านบ้านทุ่งขันหมาก หมู่ที่ 6 ตำบลเขาน้อย อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช . Journal of Innovation for Sustainable Social Development, 5(1), 1–15. สืบค้น จาก https://so18.tci-thaijo.org/index.php/J_ISSD/article/view/1340

ฉบับ

บท

บทความวิจัย