การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามหลักอิทธิบาท 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามหลักอิทธิบาท 4 ทำให้ผู้จัดทำเห็นว่า การพัฒนาวิสาหกิจชุมจะต้องมีการดำเนินการต่างไม่ว่าจะเป็นด้านการควบคุม และด้านการผลิตที่สามารถเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นจึงมีการการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเน้นการใช้หลักอิทธิบาท 4 เป็นการนำไปสู่ผลสำเร็จในชีวิตและการงานที่สอดคล้องกับ แนวทางการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ประกอบด้วย 1) การสร้างความภาคภูมิใจและเกียรติภูมิแก่คนไทยในอดีตที่มีความสามารถและได้รับการยอมรับจากต่างประเทศ 2) การใช้ภูมิปัญญาเพื่อสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น 3) การสร้างความสมดุลระหว่างคนในสังคมและธรรมชาติ 4) การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนไทยให้เหมาะสมกับยุคสมัย 5) การปรับประยุกต์หลักธรรมคำสอนทางศาสนาให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตไทย
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กถิน อัตถโยธิน. (2530). การสร้างแบบทดสอบวัดคุณธรรมด้านอิทธิบาท 4 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทราวิโรฒ.
กฤษณา วงษาสันต์. (2542). วิถีไทย. กรุงเทพฯ: เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.
กลุ่มงานพัฒนาวิสาหกิจเกษตรชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร. (2567). วิสาหกิจชุมชนหนทางพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2567, จาก http://www.moac.go.th/builder /aid/article update.php?id=86
กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตรกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตร. (2564). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในงานส่งเสริมการเกษตร. นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
การแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 2566-2570. ราชกิจจานุเบกษา, 139, 7.
เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2554). ภูมิปัญญาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ประภัสสร ทองยินดี. (2567). ภูมิปัญญาไทย: องค์ความรู้ที่มีคุณค่าและประโยชน์ต่อสังคมไทย. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.stou.ac.th/study/sumrit/10-58(500)/page3-10-58(500).html
พระครูนิพัทธ์กัลยาณวัฒน์. (2562). พัฒนาการของการศึกษาที่ยั่งยืนตามแนวพุทธศาสตร์. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 7(2),299.
พระครูนิวิฐปัญญากร. (2555). การศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมในการส่งเสริมการพึ่งพาตนเอง (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก. (2542). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์. (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเมธีธรรมาภรณ์. (2539). อิทธิปาทกถา. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
รุ่ง แก้วแดง. (2542). ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: มติชน.
วิชิต นันทสุวรรณ. (2547). ขบวนการชุมชนใหม่การพัฒนาแบบแผนใหม่ทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์.
สนอง วรอุไร. (2550). ทำชีวิตใหได้ดีและมีสุข. พิมพครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์.
สรรเสริญ วงศ์ชอุ่ม. (2554). การวางแผนพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: เพชรรุ่ง.
หลวงพอปญญานันทภิกขุ. (มปป.). งานคือชีวิตชีวิตคืองานบันดาลสุข. กรุงเทพฯ: สถาบันบันลือธรรม.
องค์การการบริหารส่วนตำบลวังใหม่. (2567). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 12. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.wangmaisakaeo.go.th/17704142/
อาภรณ์ รับไซ. (2567). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับความหลากหลายทางชีวภาพ. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7051-2017-05-23-14-19-46