การเดิน วิ่งกับการเรียนรู้เพื่อพัฒนาร่างกายและจิตใจตามหลักภาวนา 4 ตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาท กรณีศึกษา: ชมรมสุขกายสบายใจ คลินิกกุมาร โรงพยาบาลศิริราช จังหวัดกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาร่างกายและจิตใจตามหลักภาวนา 4ในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษากิจกรรมการเดินวิ่งของชมรมสุขกายสบายใจ คลินิกกุมาร โรงพยาบาลศิริราช จังหวัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อวิเคราะห์การเดินวิ่งกับการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาร่างกายและจิตใจตามหลักภาวนา 4 ตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาท ของชมรมสุขกายสบายใจ คลิกนิกกุมาร โรงพยาบาลศิริราช จังหวัดกรุงเทพมหานคร
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). (2561). คู่มือมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นแอนด์พับลิชชิ่ง.
พระไพศาล วิศาโล. (2564). สัมโมทนียกถา“ธรรมะ”. สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2564, จาก https://www.visalo.org
พระราชวรมุนี (พล อาภากโร). (2550). คู่มือธรรมศึกษาชั้นตรี. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักงานศูนย์พระสงฆ์นักเผยแผ่ธรรมเพื่อพัฒนาสังคม.
พิเชฐ บัญญัติ. (2563). เอาตัวรอดจากไวรัส COVIC – 19. กรุงเทพฯ: ซี แอนด์ เอ็น บุ๊ค.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2553). ปาฏิหาริย์แห่งการวิ่ง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมาพันธ์ชมรมเดิน -วิ่ง.
สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2548). แนวคิดมุมมองเรื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข.