การประเมินโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทำวุ้นกะทิและลูกชุบเพื่อส่งเสริมอาชีพ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของวิทยาลัยดุสิตธานีกับชุมชนแหลมทองพัฒนา เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 1/2559 โดยใช้รูปแบบการประเมินของเคิร์กแพทริค

Main Article Content

เมธาพร อิ่นคำ

บทคัดย่อ


บทความนี้เรียบเรียงจากข้อเขียนเรื่อง Moral Leadership: A Model for Educational Leaders in the 21st Century โดย Paul M. Quick (2013) และ ความยุติธรรมกับความเกื้อกูลในจริยศาสตร์สตรีนิยม โดย วัชระ งามจิตร เจริญ (2548) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและทําความเข้าใจรูปแบบภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมโดยการสังเคราะห์แนวคิดต่าง ๆ และนําเสนอรูปแบบใหม่สําหรับผู้บริหารทางการศึกษา บทความนี้มีทั้งหมดหกส่วน ส่วนที่หนึ่งเป็นบทนํา ส่วนที่สอง เป็นการนําเสนอวัฒนธรรม, บรรยากาศ และสังคมในโรงเรียน ส่วนที่สามเป็นการนําเสนอหลักสามประการสําหรับผู้นํา ทางการศึกษา ส่วนที่สี่เป็นบทบาทของผู้บริหาร ส่วนที่ห้าเป็นการนําไปปฏิบัติสําหรับผู้บริหารการศึกษา และส่วนท้ายสุด เป็นบทสรุปซึ่งมีสาระสําคัญ คือ ผู้บริหารการศึกษาในฐานะที่เป็นผู้นําทางการศึกษาจําเป็นต้องมีภาวะผู้นําซึ่งรูปแบบภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมเป็นรูปแบบหนึ่งที่เหมาะสมกับการบริหารการศึกษาในศตวรรษที่ 21 กล่าวคือ การที่ผู้นําจะต้องมีความสามารถในการนําผู้ใต้บังคับบัญชาไปในทางที่ถูกต้องและคํานึงถึงผลประโยชน์ขององค์กรและสังคมเป็นหลัก โดยมีหลักสามประการในการบริหารองค์กร ซึ่งประกอบด้วย (1) ความเป็นของแท้ ความน่าเชื่อถือได้ (authenticity) (2) ความสมดุล (balance) และ (3) ระบบการคิด (system thinking) หลักสามประการนี้จะเป็นส่วนสําคัญ ในการบริหารองค์กรให้เจริญก้าวหน้าไปได้คําสําคัญ: ภาวะผู้นําเชิงจริยธรรม; ผู้บริหารการศึกษา; ศตวรรษที่ 21


Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2555). เทคนิคการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2559). วิทยาการประเมิน: ศาสตร์แห่งคุณค่า, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศันสนีย์ อุตมอ่าง. (2554). การประเมินโครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตทองม้วนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง, ค้นเมื่อ 15 กันยายน 2558, จาก https://research.pcru.ac.th/service/pro_ data/files11/54-039.pdf.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะครุศาสตร์, ศูนย์ทดสอบและประเมินเพื่อพัฒนาการศึกษาและวิชาชีพ. ค้นเมื่อ 15 กันยายน 2558, จาก http://svr3.edu.chula.ac.th/testcenter/login.php.

ยุวธิดา ม่วงเจริญ และสุรชัย มีชาญ (มกราคม-เมษายน 2558). การประเมินการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านภาควิชา กุมารเวชศาสตร์, Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(1), 1059-1074.

ULUM, O. G. (2015). Program valuation through Kirkpatrick's framework. Pacific Business Review International, 8(1), 106-111.

Kirpatrick, D.L. (1998). Evaluating trainng programs: The four levels (...). San Francisco, CA: Bervett-Koehler.