การบริหารองค์กรตามแนวพระพุทธศาสนาโดยใช้หลักการของสัปปุริสธรรม
Main Article Content
บทคัดย่อ
จัดการ ในขณะเดียวกันก็นําหลักการในทางพระพุทธศาสนามาผสมผสานและประยุกต์ใช้กับหลักการบริหารจัดการ ร่วมด้วย ดังนั้นการศึกษาพระพุทธศาสนา ทําให้รู้ว่าศาสตร์แห่งการบริหารจัดการที่ยั่งยืนและดํารงความเป็นมนุษย์ ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติสุขนั่นคือ ศาสตร์ในการบริหารจัดการเชิงพุทธศาสตร์ ได้นําหลักการบริหารองค์กร ตามหลักธรรม สัปปุริสธรรม 7 ประการ คือ (1) รู้จักเหตุ (2) รู้จักผล (3) รู้จักตน (4) รู้จักประมาณ (5) ผู้รู้จักกาล (6) รู้จักชุมชน และ (7) รู้จักบุคคล สามารถบูรณาการ รวมเข้ากันได้ และเป็นแนวทางที่มีความสอดคล้องกับหลักการ บริหารองค์กร ได้อย่างดี ศาสนาพุทธมีจุดมุ่งหมายหลักคือ การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ให้เป็น ผู้เพียบพร้อมทั้ง ร่างกายและจิตใจ ในอันที่จะดํารงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข ความเจริญ และประสบความสําเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ผู้บริหารจึงนําหลักการบริหารเชิงพุทธศาสตร์เข้ามาประกอบ หรือบูรณาการให้เข้ากับการบริหารงานในปัจจุบัน ถือว่าเป็นแนวทางใหม่ หรือเข้าสู่มิติของการบริหารงาน ที่ยั่งยืน มีความมั่นคง และสร้างความเป็นธรรมต่อบุคคล หรือสังคมที่เกี่ยวข้องกับองค์กรอย่างชาญฉลาด รวมทั้งสร้างประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ต่อการบริหารงานอย่างยั่งยืน และมั่นคง รวมทั้งจะเป็นหลักการของนักบริหารในการบริหารจัดการองค์กรของตนอย่างมีระบบ โดยที่ยังมีคุณธรรม
มาประกอบในการพิจารณาบริหารจัดการอีกด้วย โดยการใช้หลักธรรมคําสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในด้านการบริหารจัดการและดําเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้ส่งบทความ (และคณะผู้วิจัยทุกคน) ตระหนักและปฎิบัติตามจริยธรรมการวิจัยอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้บทความ เนื้อหา ข้อมูล ข้อความ ภาพ ตาราง แผนภาพ แผนผัง หรือข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในบทความ เป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ โดยถือเป็นความรับผิดของของเจ้าของบทความเพียงผู้เดียว
References
ปาริชาติ เยพิทักษ์ และธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). การบริหารจัดการข้อมูลขององค์กรในภาครัฐ, Veridian E-Journal, Silpakorn University (ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), (1), 16-26.
พระมหามงคล สารินทร์, อภิธีร์ ทรงบัณฑิต และสมชาย เทพแสง. (2556). การบริหารงานตามแนวพุทธธรรม.วารสารบริหารการศึกษา มศว., 1419), 84-88.
วรภาส ประสมสุข และนิพนธ์ กินาวงศ์. (2549). หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม, วารสารศึกษาศาสตร์, 18(2), 63-83.
Chaisamon Tontan. (2555). Personnel management. From https://www.gotoknow.org/posts
National Office of Buddhism. (2545). The modern management principle and management principles of Buddhism For the stability of Buddhism. From http://www.onab.go.th/articles
Phramahasomchai Thanwuttho. (2553). Sappurisadhumma: Impartial people as satburut. From https://www.dmc.tv/pages/top_of_week/20100830-DMC-A08.html
Rajamangala University of Technology Campus Khon Kaen. (2553). The meaning and significance of the administration. From https://sites.google.com/site/poppypresent1
Sompob Moonme. (2557). Balanced Scorecard. From https://www.gotoknow.org/posts/321453
Tawin Arunwat. (2560). Administration according to Sappurisadhumma7. From http://thawin09.blogspot.com/2017/02/blog-post_12.html
Wilawan Rapeepisat. (2554). Basic knowledge in human resources management. Bangkok: Printing the splendid craft organizations.