การบูรณาการหลักพุทธธรรมในการบริหารจัดการองค์กร ในยุคไทยแลนด์ 4.0

Main Article Content

พระครูสมุห์จิรชาติ พุทฺธรกฺขิโต

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ เป็นการศึกษาหลักพุทธธรรมเพื่อการบริหารจัดการองค์กรในยุคไทยแลนด์ 4.0
สืบเนื่องมาจากที่ประเทศไทยได้ก้าวเข้าไปสู่ยุค 4.0 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปตามภาวะของกระแสโลกเป็นอย่างมาก โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริหารองค์กรในยุคไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งประกอบด้วย
หลักพุทธธรรมเป็นแนวทาง คือ อิทธิบาท 4 ได้แก่ (ฉันทะ) คือ การวางแผน ควบคู่ไปกับความพอใจ (วิริยะ) คือ การจัดองค์การ ควบคู่ไปกับความเพียร (จิตตะ) คือ การนำควบคู่ไปกับความเอาใจใส่ และสุดท้าย คือ (วิมังสา) คือ การควบคุมซึ่งควบคู่ไปกับความเข้าใจ ที่ก่อให้การพัฒนาด้านพฤติกรรม การพัฒนา และปัญญา ทั้งนี้เป็นหลักแห่งความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงานไปสู่ความสำเร็จทั้งแก่ตนเองและองค์กร ซึ่งนำไปสู่การบริหารจัดการองค์กรที่ “มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนอย่างแท้จริง”

Article Details

How to Cite
พุทฺธรกฺขิโต พ. (2023). การบูรณาการหลักพุทธธรรมในการบริหารจัดการองค์กร ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารวิชาการแห่งอนาคต, 2(1), 1–6. สืบค้น จาก https://so18.tci-thaijo.org/index.php/FACJ/article/view/10
บท
บทความวิชาการ

References

พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพฯ: กรมการปกครอง.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2552). ทฤษฎีหรือแนวคิดทางด้านการบริหารและการจัดการองค์กร. กรุงเทพฯ: พิมพ์สวย.

พสุ เดชะรินทร์. (2563) องค์กร 4.0. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2563, จาก https://www.bangkokbiznews.com/ blog/blogger/6

สมภพ สุกช่วง. (2541). การบริหารการพัฒนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สัมพันธ์ ภู่ไพบูลย์. (2552). องค์การและการจัดการ (พิมพ์คั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พิทักษ์อักษร.

สุริยา รักษาเมือง. (2560). การบูรณาการพุทธธรรมเพื่อนำไปใช้ในการบริหารงานภาครัฐอย่างลุ่มลึกในการศึกษาระดับสูงของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์,6(2), 69-84.

อดิศร เพียงเกตุ. (2551). ศิลปะการพูด: วิธีเอาชนะใจคน. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย.

Chapman, E.N. (1995), Supervisor Suviva Kit (2nd ed.). California: Science Research Associates Inc.