การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ของผู้เรียน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอมุมมองเกี่ยวกับหลักการและกลยุทธ์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ของผู้เรียน นักการศึกษา ครูผู้สอนต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและปรัชญาการศึกษา สภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพและทางด้านจิตวิทยาที่ส่งผลต่อผู้เรียน บทความนี้ยังได้กล่าวถึงกลยุทธ์การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางจิตวิทยาที่เหมาะสม ส่งเสริม สุขภาพกายที่แข็งแรง สุขภาพจิตที่ดีของผู้เรียน การพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านจิตวิทยาจะส่งเสริมพัฒนาการ ด้านสติปัญญา อารมณ์ และสังคม ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ เจตคติ ระเบียบวินัย รับผิดชอบ มีเพื่อน มีสังคม มีความรัก มีความรู้รักเป็นสุขในชีวิต
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้ส่งบทความ (และคณะผู้วิจัยทุกคน) ตระหนักและปฎิบัติตามจริยธรรมการวิจัยอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้บทความ เนื้อหา ข้อมูล ข้อความ ภาพ ตาราง แผนภาพ แผนผัง หรือข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในบทความ เป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ โดยถือเป็นความรับผิดของของเจ้าของบทความเพียงผู้เดียว
References
พัฒน์ วัฒนสินธุ์. (2562). การสร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามแนวมนุษยนิยม. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(2), 21-29.
สุกฤษฏิ์ อัญบุตร, ฐิติพร พิชญกุล และบุญเรือง ศรีเหรัญ. (2555). การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาใน โรงเรียนขั้นต้นของกองทัพอากาศ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรม ราชูปถัมภ์, 6(1), 1-10.
De Nobile, J., & Lyons, G. (2017). Positive learning environments: Creating and maintaining productive classrooms. South Melbourne, AU: Cengage.
Graetz, K. A. (2006). The psychology of learning environments. In D. G. Oblinger (Ed.), Learning Spaces (pp. 6.1-6.14). Washington, DC: Educause.
Hopland, A. O., & Nyhus, O. H. (2016). Learning environment and student effort. International Journal of Educational Management, 30(2), 271-286.
McVey, G. F. (1990). The application of environmental design principles and human factors guidelines to the design of training and instructional facilities: Room size and viewing considerations. Proceedings of the Human Factors Society Annual Meeting, 34(7), 552-556.
Rubie-Davies, J. M., Stephens, P., & Watson. (2015). The Routledge international handbook of social psychology of the classroom. London: Routledge.
Wang, M., Ryoo., J., & Winkelmann, K. (2020). Preface to the special issue on Cross Reality (XR) and Immersive Learning Environments (ILE) in education. Interactive Learning Environments, 28(5), 539-542.