อิทธิพลทางศาสนากับพระราชลัญจกรประจําพระองค์ ในรัชกาลท่ี 6 ถึงรัชกาลที่ 10
คำสำคัญ:
พระราชลัญจกร, ศาสนาพราหมณ์, ศาสนาพุทธ, อิทธิพลของศาสนาบทคัดย่อ
บทความนี้ที่ศึกษาอิทธิพลทางศาสนาที่ปรากฏบนพระราชลัญจกรประจำพระองค์ในรัชกาลที่ 6 ถึงรัชกาลที่ 10 ผลการศึกษาพบว่า การสร้างสรรค์รูปแบบของพระราชสัญลักษณ์ในรัชกาลที่ 6 ถึงรัชกาลที่ 10 ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธมาใช้ตกแต่งพระราชสัญลักษณ์ เป็นการนำเอาพระราชอำนาจของกษัตริย์มาทำให้เป็นรูปธรรมโดยการนำสัญลักษณ์ เทพาวุธ ศักดิ์สิทธิมงคล วัตถุสู่ของ และพระโพธิสัตว์มาเป็นสัญลักษณ์ โดยพระราชสัญลักษณ์ที่นำมาศึกษาในบทความนี้มี 5 องค์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์และพุทธ ในขณะเดียวกันอิทธิพลทางศาสนาได้มีการเปลี่ยนรูปแบบจากคติดั้งเดิมที่เป็นรูปเทพเจ้าและสัตว์ที่นำมาผสมให้เป็นคติที่แตกต่างอย่างน่าสนใจ อีกทั้งรูปแบบของงดพระราชลัญจกรยังมีลักษณะใกล้เคียงกับรัชกาลก่อนหน้านี้
References
กรมศิลปากร. (2505). พระราชสาส์นในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระราชทานไปยังประเทศจีนกับประวัติศาสตร์จีน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เอกการพิมพ์.
กรมศิลปากร. (2547). น้ำพุพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร. กรุงเทพฯ : กรมฯ.
กระทรวงวัฒนธรรม. (2536). ประมวลองค์ความรู้พระราชพิธีบรมราชาภิเษก. กรุงเทพฯ : กระทรวงฯ.
ก่องแก้ว วีระประจักษ์. (2537). หนังสือประพันธา. ใน วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. ความยอกย้อนของอดีต : พิพิธนิพนธ์เชิดชูเกียรติพลตรี หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒน์ เกษมศรี. กรุงเทพฯ : มปพ.. น.149-168.
จักรกฤษณ์ ดุษฎีโหนด. (2547). พระธรรมนูญว่าด้วยการใช้ถ้อยคำ. ใน ศุภวัฒน์ - ศุภวาร จุล พิจารณ์ : ข้อเขียนเพื่อแสดงมุติความคิดในโอกาสที่พลตรีหม่อมราชวงศ์ ศุภวัฒน์ เกษมศรี มีอายุครบ 6 รอบ ในพุทธศักราช 2547. กรุงเทพฯ : เพื่องฟ้า. น.95 - 118.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2562). ประวัติการเมืองไทยสยาม พ.ศ.2475 - 2500. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ตนัย ไชยโยธา. (2540). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
ตนัย ไชยโยธา. (2541). มนุษย์กับอารยธรรมในเอเชียใต้ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ตนัย ไชยโยธา. (2547). วัฒนธรรมและอารยธรรมสัมพันธ์ของอนุทวีปอินเดียกับนานาประเทศ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ตนัย ไชยโยธา, บรรณาธิการ. (2545). 53 พระมหากษัตริย์ไทย ผู้ทรงครองแผ่นดิน ชาติ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ทรงธรรม ปิ่นทอง. (2542). พระราชสัญลักษณ์กราฟฟิกท่ากัญจนาภิเษก. วารสารราชบัณฑิตยสถาน. 20(4) : 15 - 19.
ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ. (2529). ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี - รัตนโกสินทร์. มหาสารคาม : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
ทวีศักดิ์ คูหาประทีป. (2518). วรรณกรรมศาสนา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธันยพงศ์ สารรัตน์ และคณะ (2562, มกราคม - มิถุนายน). มงคลคติในตราสัญลักษณ์งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562. วารสารนิติรัฐกิจวิทยาลัยกฎหมายและการปกครองมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 2(2) : น.1-21.
ปิยนาถ บุนนาค และคณะ. (2556). 9 แผ่นดินของการปฏิรูประบบราชการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สังฆราชธิบดี, พระยา (สรวง ศรีเพ็ญ). (2511). เทวกำเนิด. กรุงเทพฯ : เสริมวิทย์บรรณาคาร.
อนุมานราชธน, พระยา. (2512). พระราชลัญจกรและตราประจำตำแหน่ง. ธนบุรี : อักษรเพชรเกษม.
จุลจักรพงษ์, พระองค์เจ้า. (2555). เกิดวังปารุสก์ : สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์และสมัยประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊คส์.
จุลจักรพงษ์, พระองค์เจ้า. (2555). เจ้าชีวิต : พงสาวดาร 9 รัชกาลแห่งราชวงศ์จักรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊คส์.
เพลินพิศ กำราญ. (2525). ข้อของพระราชสัญลักษณ์ในรัชกาลที่หนึ่งแสดงพระราชอำนาจปกครองราชการแผ่นดิน. ศิลปวัฒนธรรม. 5(10): 16 - 25.
กาสตี้ มหาชัยนี. (2534). รัตนโกสินทร์ยุคปรับปรุงประเทศ. ชลบุรี : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ผาสุข อินทราวุธ. (2522). ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิตรศรี กาญจนาภา. (2549). พระราชพิธีอินเดียในเบื้องต้นจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. วารสารประวัติศาสตร์ 2549. น.91-120.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร์ สยามินทราชราช. กรุงเทพฯ : คณะกรรมาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.
เวจิตร พันธ์ยอย. (2557ก). การใช้ตราราชการไทย พ.ศ.2394 ถึง พ.ศ.2482. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เวจิตร พันธ์ยอย. (2557ข). การสร้างภาพลักษณ์ "สยามใหม่" ในตราราชแผ่นดินสมัยต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.2411 - พ.ศ.2435). ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 4 วันที่ 7 พฤษภาคม 2557. นครปฐม : คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.
วุฒิชัย มูลศิลป์. (2531). เอกสารประกอบการศึกษา : พื้นฐานวรรณะไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วุฒิชัย มูลศิลป์ และคณะ. (2550). พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพมหานคร : อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ศานติ ภักดีคำ. (2556). พระอินทร์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ศานติ ภักดีคำ. (2557). พระศิวะ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ศานติ ภักดีคำ. (2557). ครุฑ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ศานติ ภักดีคำ. (2560). พระนารายณ์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2545). กฎหมายตราสามดวงกับความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2554). พัฒนาการทางสังคม - วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
ศิริพร ดาบเพชร. (2553-2554). นัยยะทางการเมืองของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลที่ 6. วารสารประวัติศาสตร์. 2553 - 2554. 18(1) : 30 - 47.
สมชาติ มณีโชติ. (2539, กรกฎาคม). มงคลคติในตราสัญลักษณ์ฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี. ศิลปวัฒนธรรม. 17(9). น.178 - 190.
สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. (2506). บันทึกเรื่องความรู้ต่างๆ : สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา ทรงบันทึกประทานพระยาอนุมานราชธน เล่ม 3. พระนคร : สมาคมสังคมศาสตร์.
สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. (2512, กันยายน). บันทึกความรู้ต่างๆ. ศิลปากร. 13(3): 21 - 40.
สมบัติ พลายน้อย. (2527). ความรู้เรื่องตราต่างๆ เล่ม 1 : พระราชลัญจกร. กรุงเทพฯ : บำรุงสาส์น.
สืบแสง พรหมบุญ. (2525). ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนกับไทย ค.ศ.1282 - 1853. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี. (2538). พระราชลัญจกร. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สุรศักดิ์ เจริญวงศ์. (2547). สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ : "สมเด็จครู" นายช่างใหญ่แห่งกรุงสยาม. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
อิสรชล คงเพ็ชร. (2555). อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ที่ปรากฏบนตราสัญลักษณ์ในอดุลยถ่านนี้ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.(โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ. (2550). ตราประทับ ตราประจำตัว และเครื่องราชอิสริยาภรณ์. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 คณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง