การวิเคราะห์ความเชื่อและพิธีกรรมของชาวบ้านที่มีต่ออนุสาวรีย์แม่ศรีสระผม อำเภอเมืองฯ จังหวัดศรีสะเกษ
คำสำคัญ:
ความเชื่อ, พิธีกรรม, อนุสาวรีย์แม่ศรีสระผม, ศรีสะเกษบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะความเชื่อ รูปแบบพิธีกรรมของชาวบ้านที่มีต่ออนุสาวรีย์แม่ศรีสระผม สัญลักษณ์ให้เป็นพิธีกรรมและความสำคัญของความเชื่อและพิธีกรรมที่สัมพันธ์กับ วิถีชีวิตของคนในชุมชนโดยใช้วิธีการศึกษาจากข้อมูลการสนามด้วยการสังเกตและสัมภาษณ์ผู้รู้ในชุมชน ท้องถิ่น
ผลการวิจัยพบว่า ความเชื่อของชาวบ้านปรากฏใน 5 ลักษณะคือ 1) อนุสาวรีย์เป็นที่ตั้งใน สัญลักษณ์ประจำจังหวัดศรีสะเกษ 2) อนุสาวรีย์เป็นบุคคลศักดิ์สิทธิ์อยู่คู่บ้านคู่เมืองจังหวัดศรีสะเกษ 3) อนุสาวรีย์มีวิญญาณแม่ศรีสระยมดูแลปกป้องรักษาและนิมิตคาถาให้ตามใจ 4) อนุสาวรีย์แม่ศรีสระยม ทำให้เกิดความโชคดีเชื่อมโยงเป็นบรรพบุรุษชาวศรีสะเกษ และ 5) ความเชื่อเกี่ยวกับการบำรงสัญลักษณ์ รูปอนุสาวรีย์แม่ศรีสระยมและชื่อแม่ศรีสระยมมาใช้ ซึ่งจะย้อนให้เห็นถึงความเชื่อ ความคิด ความรู้สึกที่ ได้รับอิทธิพลของศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู และความเชื่อดั้งเดิม อีกทั้งยังมีความสัมพันธ์ต่อ การดำเนินชีวิตของชาวบ้านและต่อรูปแบบการปกครองพิธีกรรมที่ปรากฏทั้งในส่วนรวมและส่วนบุคคล โดยสัมพันธ์กับอำนาจเหนือธรรมชาติ ดังกล่าวส่งผลให้เข้าใจพื้นฐานทางความคิดความเชื่อ เพื่อจะเป็น ประโยชน์ในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของท้องถิ่นและประเทศชาติ
References
กัมแก้ว ธิติศาลา. (2520). คติชนวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุสภา.
กาญจนา คงชี. (2563). นางสาวอนุสาวรีย์แม่ศรี...ศรีสะเกษ. หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563. หน้า 5.
จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2530). คติชาวบ้าน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม.
จันทร์ อดทน. เจ้าของร้านจันทร์โปแตอร์เซ็นเตอร์. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
จันทร์อาย ทิมพันธ์. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ชาญชัย คงเพียรธรรม และคณะ. (2556). เรื่องเป็นอย่าง : ความเชื่อและพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับผีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาว เขมร ส่วย และเยียดนาม ที่อาศัยอยู่ในบริเวณอีสานใต้ของประเทศไทย. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ชานนท์ ไชยทองดี. (2561). คู่มือปฏิบัติ อัตลักษณ์ และเรื่องเล่าในวรรณกรรมเมืองศรีสะเกษ.
ศรีสะเกษ: โครงการพัฒนาองค์ทางวิชาการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
ชานนท์ ไชยทองดี. (2562, กรกฎาคม - ธันวาคม). ปฏิมากรกับบทบาทของเรื่องเล่าต่อการสร้างพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารราชธานีบรรณศึกษา-วิจัย วัน. 10(2): 219 – 255.
เชิดชัติ์ ชายหวล. (2557). ความเชื่อเกี่ยวกับ "ผี" และ "วิญญาณบรรพ" : มิติทางวัฒนธรรมและอุทกยศาสตร์แห่งลุ่มน้ำทุ่งกุลาชาติพันธุ์เขมร สำนักจิตวิญญาณแห่งชาวเขียน. ศรีสะเกษ: ศรีสะเกษการพิมพ์.
ไชยันต์ รัชชกูล. (2557). บ้านอัตลักษณ์ดำ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผ้าขาว.
นนทูล สาระชี. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ตนัย ไชยโยธา. (2538). สิทธิ ศาสนา และระบบความเชื่อกับประเพณีเนื่องในท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
โอเดียนสโตร์.
ตุลนันท์ แทนวงษ์. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
พัฒนาการการท่องเที่ยวไทยของชาติอีสาน : ศรีสะเกษ. (2547). กรุงเทพฯ: ฝ่ายส่งเสริมสิ่งพิมพ์การท่องเที่ยวภาคอีสานแห่งประเทศไทย (พทท.).
เทศบาลเมืองศรีสะเกษ. (2524). ที่ระลึกในงานพิธีลัญญาพระนครศรีประดิษฐานบนแท่น 10 ธันวาคม 2524. กรุงเทพฯ: อักษรสุวรรณ.
ทักษิย ทองท่อ. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ธันยพงศ์ สารรัตน์. (2563). พิพิธภัณฑ์กับการรับรู้อัตลักษณ์เมืองศรีสะเกษ. บทความนำเสนอในที่ประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรมศึกษา ครั้งที่ 1 ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต. วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563.
ธันยพงศ์ สารรัตน์. (2549). "ศรีสะเกษ" : กำเนิดเมืองยุคกลายดวน : สืบค้านานของพระนางศรีสระผม. วารสธาน. 5(1): 20 – 36.
ธันยพงศ์ สารรัตน์ และคณะ. (2563). ชุดความรู้เรื่องอัตลักษณ์วัฒนธรรมของเมืองศรีสะเกษ. บทความนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ ครั้งที่ 1. วันที่ 3 เมษายน 2563.
ธวัช ปุณโณทก. (2538). วัฒนธรรมพื้นบ้าน : คติความเชื่อ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิตย ซีดี. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2544). ชาติไทย เมืองไทย แบบเรียนและอนุสาวรีย์. กรุงเทพฯ: มติชน.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2545). การเมืองในประวัติศาสตร์และความทรงจำ. กรุงเทพฯ: มติชน.
นาราธร์น พงษ์ไพบูลย์. (2545). เที่ยนแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง.
บริษัท มีเดียกรมศิลป์. (2555). ประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ. กรุงเทพฯ: บริษัทฯ.
ปฐม หงษ์ธรรมรงค์. (2547). นานมาแก่ว มีเรื่องเก่า นิทาน ตำนาน ชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประภาพ จัมขคม. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ประธาน จันทร์พิมพ์. (2550). การบูรณาการคติความเชื่อในวัฒนธรรมชุมชนและภูมิปัญญาของชาวส่วย เขมร ลาว เยอ จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อการดูแลสุขภาพในภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของยุคสมัย. ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
ประดิษฐ์ ศิลานุศรี. ที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ประนอม บรรจิต. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ประสงค์ ทำนาม. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาคจังหวัดศรีสะเกษ. (2529). กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ. (2549). ศรีสะเกษ: สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษและภาคีเครือข่าย.
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ. (2548). ศรีสะเกษ: สภาวัฒนธรรมศรีสะเกษและสำนักงานจังหวัดศรีสะเกษ.
ปราณี วงษ์. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ปราณี วงษ์เทศ. (2525). พื้นบ้านพื้นเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เจ้าพระยา.
ปริศนา สดตระกูล. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
พุทธชาติ ศิริวรรณทรัพย์. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ภราดร ศรปัญญา และคณะ. (2557). บทวิถีบนแผ่นดินศรีสะเกษ. อุบลราชธานี: ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.
พรรณิภา ซาบุญมี. (2555). อารยธรรมอีสาน : เอกสารประกอบการสอน 0023003 : Isan Civilization. มหาสารคาม: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พระยาอนุมานราชธน. (2515). การศึกษาเรื่องประเพณีและชีวิตชาวไทยเมื่อก่อนม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดวงวิทยา.
พระราชวรวงศ์เธอ. (2541, มีนาคม). บทวิเคราะห์ประวัติศาสตร์จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารข่าวครูศรีสะเกษ. 25(263): 8-11.
พระราชวรวงศ์เธอ. (2546, สิงหาคม - กันยายน). การยกระดับจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารข่าวครูศรีสะเกษ. 30(328): 18 – 19.
เพ็ญพรรณ คำศรีสุข. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ไพโรจน์ ใจญุง. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
ไพฑูรย์ มีกุล. (2535). อีสานเมืองในโอกาสครบรอบ 55 ปี ของสมาคมชาวอีสาน. กรุงเทพฯ: ธนะชัยการพิมพ์.
ไพฑูรย์ มีกุล. (2560, มกราคม - มิถุนายน). การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 1(1): 9 – 27.
มณี พยอมยงค์. (2538). วัฒนธรรมพื้นบ้าน : คติความเชื่อ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยศ สันตสมบัติ. (2537). มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.
รายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์ศรีสะเกษในโอกาสการฉลองศาลากลางจังหวัด 100 ปี วันที่ 25 - 26 มิถุนายน 2548. กรุงเทพฯ: สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษและภาคีเครือข่าย.
วัชรพงษ์ ศราภุชงค์ และไพโรจน์ ดีกระบุตร์พงษ์. (2559). การสร้างสื่อแอนิเมชั่น 3 มิติ เพื่อนำเสนอประวัติศาสตร์ตำนาน "พระแม่ศรี" จังหวัดศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
วัชนะ ปัญญาภา. อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดศรีสะเกษ. (2542).
กรุงเทพฯ: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และโรงพิมพ์คุรุสภา.
วิทยา ลินทร์คนกฐ. (2520). วัฒนธรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. นครราชสีมา: ชมรมอีสานพิมพ์.
ศิริชัย พรหมศรี, บรรณาธิการ. (2555). ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และวิถีศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: สำนักพิมพ์ดินศรีสถาปัตย์ศรีสะเกษ.
ศักดา กองสมบัติซุง. เจ้าของร้านหมี่ซุ้ม. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2541). เบิ่งสังคมและวัฒนธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: มติชน.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2562). คนไทยเป็นใคร? มาจากไหน เจ๊กปนลาว หรือขแมร์?. ศรีสะเกษ: เอกสารประกอบการบรรยาย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562.
สุจิตรา คงไทย. ชาวเมืองศรีสะเกษ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
สุธีรา สุขเจริญ. เจ้าของร้านแสงเจริญ. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
สุวรรณมา สถลายุทธ์ และเชื่องน้อย บุญเผย. (2542). คำ : ร่องรอยความคิดความเชื่อไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษ. (2524). ประชาชนสุขจังหวัดศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: สำนักงาน.
สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษ. (2529). มีการเมืองถึงจังหวัดศรีสะเกษ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สำนักงานเทศบาลเมืองศรีสะเกษ. (2561). รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2561 ของสำนักงานเทศบาลเมืองศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: สำนักงาน.
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร. เอกสารจังหวัดศรีสะเกษ. กระทรวงมหาดไทย. ร.5 ย 1/1. เรื่องอัญเชิญแม่ศรีขึ้นแท่น (10 ธันวาคม 2524).
องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ และมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. (2563). บทการแสดงละครธรรมแฝงศาสตร มนตราพิศทูตเสตรา ตอน สืบราชมรรคา ศรีขรรชัย ชีวรรณที่ 7. มปท: มปพ.
อัญชนา เบญจาทิกุล. เจ้าของร้านบรรจุภัณฑ์มินิมอลเตอร์. สัมภาษณ์, 15 เมษายน 2563.
อรุณรัตน์ พรหมปัญญา. (2545). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นศรีสะเกษ. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
ออฟหลอดซอดศรีสะเกษ. (2555). ศรีสะเกษ: สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษ.
ออฟหลอดซอดศรีสะเกษ. (2560). ศรีสะเกษ: สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษ.
เอกสารการสอนชุดวิชาความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย หน่วยที่ 1-7. (2548). นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 คณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง