การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประเพณีเพณีแซนโฎนตาในท้องถิ่นอำเภอขุขันธ์โดยใช้โครงงานเป็นฐานในการเรียนรู้ (PBL) บูรณาการระหว่าง ความรู้ด้านเทคโนโลยีความรู้ด้านการสอนและความรู้ด้านเนื้อหา (TPACK) การเรียนรู้แบบชุมชนเป็นฐาน (CBL) และการใช้การจัดการ
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการเรียนรู้สาระวิชา, การจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการระหว่างความรู้ด้านเทคโนโลยีความรู้ด้านการสอนและความรู้ด้านเนื้อหา, การ จัดการเรียนรู้แบบชุมชนเป็นฐาน, การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการรายงานผลการวิจัยระยะเข้าสู่วิชาชีพ ตามโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ที่มุ่งเน้นพัฒนาความสามารถของครูในการสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประเพณีเแซนโฎนตา ในท้องถิ่นอำเภอขุขันต์ใช้โครงงานเป็น ฐานในการเรียนรู้ (PBL) บูรณาการระหว่างความรู้ด้านเทคโนโลยีความรู้ด้านการสอนและความรู้ด้าน เนื้อหา (TPACK) การเรียนรู้แบบชุมชนเป็นฐาน (CBL) และการใช้การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการเรียนรู้สาระวิชา (CLIL) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับเรียนที่มีศึกษา ข้อมูลจากปราชญ์ชาวบ้านโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นของตน แล้วนำข้อมูลมา นำเสนอผ่านบทเรียนภาษาไทยให้ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งสร้างบทประกอบพิธีกรรมจริงที่โรงเรียน
ผลการวิจัยพบว่า 1) จากการจัดการเรียนรู้ข้างต้นนั้น สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนได้จากคะแนนของผู้เรียนในการประเมินผลงานแบบประเมินแผนงาน ซึ่งมีร้อยละที่ 1) ผู้เรียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านภาวะที่โครงงานบูรณาการTPACK, CBL,CLIL ในระดับดีมาก 2) ผู้เรียนร้อยละ 85 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการนำเสนอข้อมูลวิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ในการศึกษา ประเพณีเนนนุ่งขาวในระดับดีมาก 3) ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความตระหนักและเห็นคุณค่าในการศึกษา ประเพณีเนนนุ่งขาว จากสถิติประชากรเข้าร่วมกิจกรรมและต้องให้เห็นว่าผู้เรียนได้พัฒนาทักษะทั่วไปของ ประเพณีเนนนุ่งขาวในชุมชน พร้อมทั้งนำเสนอรวมกันนั้น ทำให้ผู้เรียนได้สร้างการสื่อสารตอบอย่าง เต็มที่ อีกทั้งยังส่งเสริมให้ผลงานของตนโดยใช้ภาษาอังกฤษสื่งเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ตนเอง และ เสริมสร้างการเรียนรู้แบบองค์รวมมีการนำผลงานมาเผยแพร่ที่เว็บไซต์ท่องโลกเขมร และเผยแพร่ให้คณะครูและเพื่อนๆ ต่างห้องของตนเอง และยังเผยแพร่ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ
References
กรมวิชาการ. (2544). คู่มือการจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
ชวัญจิตต์ สุวรรณบงกช. (2561). การสอนภาษาอังกฤษและการพัฒนาที่ยั่งยืน : เป้าหมายกับการจับกัน. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก
http://www.huso.tsu.ac.th/huso_mag/journal/1203/120307dt.pdf.
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพ็ช. (2557). เทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้ (Community Base Learning: CBL). [เว็บบล็อก]. สืบค้น http://www.huso.ksu.ac.th/manage/sub_file/mRYjL2P3snd20150913173350.pdf
ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนุชา พงสุพันธ์. (2558). ความรู้ไปใช้การสอนผนวกเทคโนโลยี (Technological Pedagogical Knowledge: TPK). [เว็บบล็อก]. สืบค้นจากhttp://pitcforteach.blogspot.com/2015/03/tpack-model.html.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 คณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง